วันอาทิตย์ที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2557

หน่วยที่ 4 ม.6 เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับดนตรีสากล

        ดนตรีสากลมีบทบาทสำคัญในการสะท้อนแนวความคิดและค่านิยมที่เปลี่ยนไปของคนในสังคม ซึ่งดนตรีสากลในแต่ละยุคสมัยจะมีความแตกต่างกันไปตามการสร้างสรรค์ผลงานของนักดนตรีและสถานะทางสังคม


เป้าหมาย
        1.นักเรียนจะต้องวิเคราะห์สถานะทางสังคมของนักดนตรีในวัฒนธรรมต่างๆ
        2.อธิบายบทบาทของดนตรีในการสะท้อนแนวความคิดและค่านิยมที่เปลี่ยนแปลงไปของคนในสังคม

เพราะเหตุใด การประกอบพิธีกรรมทางศาสนาคริสต์ จึงต้องมีการขับร้องเพลงประกอบ?
        ดนตรีสากลมีแบบแผนเป็นที่ยอมรับของนานาชาติ โดยระยะเริ่มแรกได้มีการนำดนตรีสากลมาใช้ในกิจกรรมทางศาสนา เพื่อสร้างความศรัทธา ความเชื่อในพระผู้เป็นเจ้า

คำถาม ชุดที่ 1
        1.ค่านิยมในการนำดนตรีมาใช้ประกอบพิธีกรรมของคนไทยเกิดขึ้นมาจากสิ่งใด ?
        2.ดนตรีสากลช่วยสร้างความบันเทิงให้แก่คนในสังคมไทยอย่างไร ?
        3.ดนตรีสากลได้เข้ามามีบทบาทในด้านการเมืองการปกครอง ของสังคมไทยอย่างไร ?

        คนในสังคมไทยมีวัฒนธรรมความเชื่อเกี่ยวกับดนตรีสากลเป็นจำนวนมาก ทั้งในด้านพิธีกรรม การใช้ความรู้และทักษะด้านดนตรีสากลในการประกอบวิชาชีพ

เพราะเหตุใด ในอดีตการเรียนวิชาดนตรี จึงไม่ได้รับความนิยม?
        เพราะความเชื่อที่ว่า การประกอบอาชีพด้านการแสดงดนตรีนั้น เป็นอาชีพที่ต่ำต้อย รายได้น้อย จึงเรียกอาชีพนักร้อง นักแสดงว่า อาชีพเต้นกินรำกิน ไม่อาจหาเลี้ยงครอบครัวได้ จึงทำให้การเรียนวิชาดนตรีในอดีตไม่ได้รับความนิยมเท่าที่ควร

        ดนตรีสากลที่บรรเลงและขับร้องกันอยู่ในปัจจุบัน ล้วนเป็นผลงานอันทรงคุณค่าที่เกิดจากการสร้างสรรค์ ของสังคีตกวีด้านดนตรีสากลตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน

        ให้นักเรียนศึกษาประวัติและผลงานของ
        1. โยฮันเนส บรามส์ Johannes Brahms
        2. อาร์โนลด์ เชินแบร์ก Arnold Schoenberg or Schönberg
        3. ปีเตอร์ อีลิทช์ ไชคอฟสกี Pyotr Ilyich Tchaikovsky

คำถาม ชุดที่ 2
        1.เพราะเหตุใด จึงมีคำกล่าวว่า “การแสดงอุปรากร เป็นการรวบรวมผลงานศิลปะนานาชนิดเข้าด้วยกัน”?
        2.โยฮันเนส บรามส์ เป็นผู้ที่มีความสามารถในการเล่นเครื่องดนตรีชนิดใด
        3.เพราะเหตุใด โยฮันเนส บรามส์ จึงได้รับการยกย่องให้เป็น “ทายาทดนตรีของเบโธเฟน”
        4.ผลงานการสร้างสรรค์ทางดนตรีของ โยฮันเนส บรามส์ มีลักษณะอย่างไร
        5.รูปแบบการแต่งเพลงของ อาร์โนลด์ เชินแบร์ก มีลักษณะสำคัญอย่างไร
        6.นอกจากผลงานด้านดนตรีแล้ว อาร์โนลด์ เชินแบร์ก ยังมีผลงานที่สำคัญใดอีกบ้าง
        7.บทบาททางด้านดนตรีที่โดดเด่นของ อาร์โนลด์ เชินแบร์ก คืออะไร
        8.Pathetique Symphony จัดเป็นผลงานที่แสดงออกถึงความอัจฉริยะของ ปีเตอร์ อีลิทช์ ไชคอฟสกี ได้อย่างไร
        9.ผลงานของ ปีเตอร์ อีลิทช์ ไชคอฟสกี ส่วนใหญ่จัดเป็นงานประเภทใด
       10.ผลงานโอเวอร์เชอร์ และคอนแชร์โต ของปีเตอร์ อีลิทช์ ไชคอฟสกี มีลักษณะที่แตกต่างกันอย่างไร

94 ความคิดเห็น:

  1. ด.ช.จุ๊ย บ้างดง ม.6/1 เลขที่ 8
    คำถามชุดที่ 1 ตอบ...
    1...................
    2.....................
    3.................

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. น.ส.น้ำทิพย์ กองแก้ว ม.6/3 เลขที่6
      ตอบคำถามชุดที่1
      1.เกิดจากความที่พิธีกรรมบางอย่างต้องมีการใช้ดนตรีประกอบเพื่อความสนุกสนานหรือเพิ่มความศักสิทธิ์
      2.ให้ความสนุกสนาน ผ่อนคลาย
      3.ในที่นี้หมายถึงดนตรีที่นำไปใช้กับการเมือง ซึ่งเป็นมุมมองทางดนตรีที่ทำหน้าที่ต่อสังคมและการเมือง ทั้งนี้สิ่งที่เกิดขึ้นถ้านำมาวิเคราะห์ลงไปอย่างลึกซึ้งก็จะพบถึงวิธีคิด สาระ ตลอดจนภาพสะท้อนต่าง ๆ ในสังคมที่มีการเชื่อมโยงมิติสัมพันธ์หลาย ๆ ด้าน บางครั้งทำให้เราสามารถนำกลับมาทบทวนและกำหนดแนวคิดเชิงปรัชญาทางดนตรีใหม่เพื่อนำมาใช้กับการเมืองไทยได้

      ลบ
    2. น.ส ศิรประภา อินปา ม.6/1 เลขที่21
      คำคามชุดที่2 (10ข้อ)
      1. เพราะเป็นละครเพลงและมีดนตรีเป็นหลักสำคัญในการดำเนินเรื่องราว จึงกล่าวได้ว่าเป็นการผสมรวมระหว่างศิลปะนานาชนิดตั้งแต่วรรณกรรม บทร้อง เครื่องละคร การแสดง การเต้นรำ การร้อง และการเล่นดนตรี โอเปร่าถือเป็นส่วนหนึ่งของดนตรีคลาสสิกตะวันตก จะว่าไปถ้าบอกให้เข้าใจง่าย
      2. เปียโน
      3. บรามส์ แต่งเพลงสวดเรเควียม
      4. โดดเด่นด้วยศาสตร์แห่ง คอนเสิตพ้อย และโพลิโพนี ประพันธ์ในรูปแบบคลาสิค แต่งแต้มด้วยความถวิล และโรแมนติก
      5. ทำนองเพลงที่มีความซับซ้อน ไม่มีบันไดเสียง (Atonal) เป็นงานดนตรีที่เล่นยาก และฟังยาก
      6. ผลงานสำหรับวงออเคสตร้า บทเพลงขับร้องประสานเสียง อุปรากรและการแสดงบนเวที งานสำหรับเดี่ยวเปียโน
      7. การแต่งเพลงโดยใช้แนวคิดใหม่คือใช้ระบบทเว็ลฟ-โทน (Twelve Tone System) คือ การนำเสียงสูง – ต่ำทั้งหมด 12 เสียง มาเรียงกันเป็นลำดับที่แน่นอนโดยหลีกเลี่ยงไม่ให้มีเสียงหลัก (Tonic) ซึ่งหลักสำคัญคือ ทฤษฏีที่ว่าด้วยเสรีภาพของเสียง และความสำคัญเท่าเทียมกันของเสียงทุกเสียง
      8. การแต่งเพลงในจังหวะที่แตกต่าง ซิมโฟนีบทนี้มีดนตรีที่หดหู่ คล้ายกับว่าไชคอฟสกีพอจะทราบชะตาของตัวเองอยู่แล้ว ถือเป็นบทสั่งลา น้องชายคนสุดท้องของเขาชื่อ โมเดสต์ อิลิชไชคอฟสกี จึงเสนอให้ใช้ชื่อว่า Патетическая (Patetičeskaja) มีความหมายว่า "passionate" หรือ "emotional" ซิมโฟนีบทนี้จึงรู้จักกันในชื่อ Pathétique เป็นศัพท์ภาษาฝรั่งเศสในความหมายเดียวกัน
      9. การนำเสนอแบบร่วมสมัย
      10. ผลงานโอเวอร์เชอร์ เป็นผลงานที่โรแมนติค นุ่มนวล และคอนแชร์โต ของปีเตอร์ อีลิทช์ ไชคอฟสกี มีลักษณะที่หดหู่สื่อถึงเรื่องรักร่วมเพศ

      ลบ
  2. นางสาว จิรัฐิติกาล สุพันธนา ม.6/3 เลขที่ 7
    คำถามชุดที่ 1 ตอบ
    1)เกิดจากความเชื่อของมนุษย์
    2)สามารถช่วยจรรโลงจิตใจของผู้คนและสร้างความสามัคคี
    3)บทบาทคือ อย่างเช่นในหนังเรื่องโหมโรง ซึ่งการเมืองเเละการปกครองมีบทบาทต่อการควบคุมการเล่นต่างๆของดนตรีมาก และนักดนตรีในยุคนั้นต้องมีบัตรนักดนตรีค่อยควบคุม

    ตอบลบ
  3. น.ส.ปิยฉัตร คำแผลง ม.6/3 เลขที่4
    คำถามชุดตอนที่1
    ดนตรีประกอบพิธีกรรมหรือเพลงศาสนาเป็นดนตรีที่สืบเนื่องมาจากความเชื่อถือในลัทธิในขนบธรรมเนียมประเพณีต่าง ๆ ตลอดจนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายตามที่มนุษย์เผ่าพันธุ์ต่าง ๆ สมมติขึ้น และมีส่วนสำคัญที่ทำให้ศาสนารุ่งเรืองขึ้นเป็นลำดับ
    2.ดนตรีสมัยปัจจุบันส่วนมากเป็นดนตรีสากล และมีจังหวะสนุกสนาน
    3.เมื่อสมัยจอมพล ป. สมัยหลังสงครามโลดได้มีการกล่าวว่าดนตรีไทยเป็นดนตรีที่ล้าหลังจึงทำให้ดนตรีสากลเข้ามาแทนที่จึงเกิดความขัดแย้งขึ้น

    ตอบลบ
  4. นส.สัตตบุษย์ ทับทิมย้อย ม.6/3 เลขที่9
    คำถามชุดที่1 ตอบ 1)เกิดจากความเชื่อของศาสนาเเละประเพณีวัฒนธรรม
    2)ทำให้คนในสังคมเกิดความไม่ตรึงเครียด ทำให้มีความสุข เเละไม่เกิดปัญหาทางด้านจิตใจ
    3)ได้โดยการเเลกเปลี่ยนวัฒนธรรมของเเต่ล่ะชาติ

    ตอบลบ
  5. น.ส.กนกกร กิจทองพูล ม.6/3 เลขที่12
    1.การนำเสียงเข้าเป็นส่วนหนึ่งของพิธีกรรม สิ่งใกล้ตัวและพบเห็นได้ในหลายสังคมวัฒนธรรมคือการใช้เสียงที่เกิดจากการตี มีฆ้อง- กลอง เป็นเครื่องมือสำคัญ  และมีการใช้เครื่องเป่าที่เรียกว่าปี่เข้ามาร่วม   ท้ายที่สุดก็ประสมเป็นวงดนตรี   จากเดิมที่มีเสียงเพียงเสียงเดียวก็เพิ่มเสียงมากขึ้นจนเป็นทำนอง    มีเนื้อคำดีๆ มีความหมายตรงใจ เข้ามาขับร้อง    และผสมผสานจนมีระเบียบวิธีของเป็นพิธีกรรมและสืบทอดต่อกันมา

    2.ดนตรีให้ความสนุกนานและผ่อนคลายความเครียดให้กับคนในสังคม การใช้ดนตรีเป็นสื่อกลางในการช่วยบำบัดผู้ป่วย การใช้ดนตรีเพื่อเป็นสื่อเพื่อสร้างพลังบางอย่างให้กับกลุ่มชนต่าง ๆ เพื่อสร้างความสำนึกให้เกิดขึ้นกับสังคมและประเทศชาติ  เช่น การนำเอาดนตรีและบทเพลงมาใช้เพื่อเป็นสื่ออำนาจของกลุ่มชนในการต่อสู้เพื่อแย่งชิงพื้นที่ทางสังคมวัฒนธรรม  เป็นสื่อกลางในการติดต่อ และการทำความเข้าใจกันระหว่างมนุษย์ที่เก่าแก่ที่สุด 

    3. การเข้ามาของดนตรีสากล ส่งผลให้เกิด เพลงไทยสากล ขึ้น ซึ่งแม้ในระยะแรกๆยังไม่เป็ยที่นิยม แต่ต่อม เพลงไทยสากลเหล่านี้ก็เริ่มมีบทบาทในสังคมมากขึ้น  ส่งผลให้เพลงไทยสากลสามารถเผยแพร่ไปได้อย่างกว้างขวาง และสถาปนาบทบาทอันสำคัญยิ่งในสังคมไทย และทำให้ดนตรีไทยแบบแผนต้องกลายสภาพเป็น ดนตรีไทยเดิม ที่ล้าหลังและไม่สามารถปรับตัวให้ทันโลก  การเข้ามาของดนตรีสากลจึงเป็นจุดเปลี่ยนและ เป็นฟันเฟืองสำคัญให้กับนโยบายเชิงวัฒนธรรมในยุคของจอมพล ป. พิบูลสงคราม

    ตอบลบ
  6. นส จันทร์ฟอง จายนวล
    ม. 6/3 เลขที่ 5
    คำถามชุดที่ 1
    1. ตอบ ค่านิยมในการนำดนตรีมาใช้ประกอบพิธีกรรมของคนไทยเกิดขึ้นมาจากความเชื้อต่างๆ ที่เห็นได้ชัดเลยคือทางศาสนา เช่น ขบวนแห่นาค ขนวนทอดกฐิน จะมีการใช้ดนรตรีประกอบพิธี นอกจากนี้ยังมี ขบวนขันหมาก และพิธีกรรมอีกมากหมายที่ใช้ดนตรีประกอบ ซึ่งทำให้รื่นเริง สนุกสนาน และเป็นเอกลักษณ์ของไทย แล้วยังเกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่และการดำรงชีวิตของคนไทยที่ทำให้เกิดตนตรีขึ้นมาใช้ในการประกอบพิธีต่างด้วย
    2.ตอบ ช่วยสร้างความรื่นเริง ความสนุกสนาน ช่วยสร้างแรงบรรดาลใจให้แก่ผู้คนที่จะสร้างผลงานด้นดนตรี ช่วยทำให้คนไทยเก่งภาษายิ่งขึ้น เป็นแบบอย่างในการสร้างผลงานดนตรี ดนตรีสากลมีหลายประเภท บางประเภทดนตรีม่มี ดังนั้นทำให้เรารู้จักดนตรีหลากหลายแนวยิ่งขึ้น
    3.ตอบ ดนตรีกับการเมืองไทยเป็นแนวคิดของการนำเอาดนตรีเข้าไปใช้กับการเมือง ทั้งนี้เพื่อเป้าประสงค์หลาย ๆ อย่าง เช่น การสื่อทางความคิด การแสวงหาเชิงอำนาจ การก่อเกิดความขัดแย้ง ตลอดจนการนำไปสู่การเคลื่อนไหวทางสังคมและเกิดการปรับเปลี่ยนไปในที่สุด จากเหตุปัจจัยนี้เมื่อมองย้อนกลับไปในสังคมการเมืองไทยได้พบถึงมุมมองของการนำเอาดนตรีเข้าไปมีบทบาทต่อกลุ่มชนหลากหลายกลุ่มเพื่อสร้างความเป็นอัตลักษณ์ของตน ซึ่งปรากฏการณ์นี้เกิดขึ้นในสังคมอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด สิ่งที่น่าสนใจทำให้มองเห็นถึงวิธีคิด สาระ และภาพสะท้อน ต่างๆ ของสังคมที่มีมิติสัมพันธ์เชิงซ้อนในหลายด้าน ซึ่งสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้เป็นมุมมองของการเชื่อมโยงดนตรีที่เกิดขึ้นให้เข้ากับทุกภาคส่วนของสังคม เพราะเชื่อว่าการเชื่อมโยงดังกล่าวสามารถสร้างความเข้าใจดนตรีที่มีผลต่อโครงสร้างทางสังคมวัฒนธรรมการเมืองทั้งระบบ
    ทั้งนี้ ดนตรีเป็นปัจจัยหนึ่งที่ถูกกำหนดบทบาทที่ชัดเจนในการสะท้อนกลุ่มชนเพื่อใช้เรียกร้องแนวอุดมการณ์ร่วมทางการเมือง ดังเช่นการแย่งชิงพื้นที่ของการต่อสู้อุดมการณ์การเมืองไทยเป็นต้น เช่นการสร้างเพลงแสดงความคิดคติให้คนคล้อยตามประสงค์ การสร้างเพลงปลุกใจให้คนไทยรักและสามัคคีกันค่ะ

    ตอบลบ
  7. นางสาว จรินภรณ์ นิภาพรรณ ม.6/3 เลขที่ 13
    คำถามชุดที่ 1
    1)ความเชื่อ เพื่อความสนุกสนาน
    2)ให้ความสนุกสนาน ลดความตึงเครียด สร้างความเพลิดเพลิน ผ่อนเบาจิตใจ
    3)ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมของชาติตะวันตกกับชาติไทย ให้มีการแพร่หลายมากขึ้น แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างดนตรีสากลกับดนตรีไทย

    ตอบลบ
  8. นางสาว อภิชญา ไชยเมืองชืน ม6/2 เลขที่ 10
    ตอบคำถามชุดที่ 1
    1.ตอบ ความเชื่อของของบุคคล เพื่อให้เกิดความสนุกสนาน
    2.ตอบ.สร้างสีสรรค์ให้แก่สังคมให้เกิดความสนุกสนาน และผ่อนคลายความเครียด สร้างความเพลิดเพลิน
    3.ตอบ สามรถมีบทบาทได้ด้วยร้องเพลงแแสดงดนตรีเพื่อนคืนความสุขให้กับประชาชน ในปัจจุบันนี้ สามารถช่วยให้ภาวะตึงเครียดผ่อนคลายลงไปมาก

    ตอบลบ
  9. นาย วัชรพล พัชรนันท ม.6/2
    คำถามชุดที่ 1
    1) ตอบ ความเชื่อของประเพณี
    2) ตอบ ให้มนุษย์มีความสุข ฟังสบาย สนุกสนานและ ผ่อนคาย
    3) ตอบ ดนตรีสากลเขัาในประเทศ แล้วมีคนเห็นว่า ดนตรีไทยทำให้เกิดความล้าหลัง

    ตอบลบ
  10. นางสาว ศุภางค์ โชติจริยากุล ม.6/2 เลขที่2
    ตอบข้อที่ 1.ค่านิยมของคนไทยเกิดมาจากความเชื่อ เเละความศรัทธาสิ่งศักดิ์ทั้งหลาย
    ตอบข้อที่2.ช่วยทำให้เกิดความคิดใหม่ๆ เเละเกิดความรู้สึกผ่อนคลาย บางเพลงเป็นเพลงปลุกใจที่สื่อถึงความสามัคคีบ้าง เเละอื่นๆ
    ตอบข้อที่3.ทำให้เห็นถึงค่านิยมความเปลี่ยนเเปลงจากเดิม เช่นวัฒนธรรมการหักล้าง อันเนื่องมาจากความคิดของคนจำนวนหนึ่งว่าดนตรีไทยคือความล้าหลัง จึงทำให้ดนตรีสากลเข้ามีอิทธิพลกับประเทศไทยมากขึ้น

    ตอบลบ
  11. นางสาว รัตติยากร ยอดศรจันทร์ ม.6/2 เลขที่26
    คำถามชุดที่1
    1.เกิดขึ้นมาจากความเชื่อ
    2.ให้ความสนุกสนาน เพลิดเพลิน สร้างความบันเทิง
    3.ในสมัยสงครามโลกครั้งที่2 ได้มีการกล่าวให้ดนตรีสากลเข้ามาแทนที่ดนตรีไทย มีการแลกเปลี่ยน

    ตอบลบ
  12. นส. นฤวรรณ ภิญโญเลิศโภคิณ ม.6/2 เลขที่25
    คำถามชุดที่1
    1. เกิดจากความเชื่อทางประเพณีและวัฒนธรรมของมนุษย์ โดยนำดนตรีมาใช้ประกอบพิธีกรรมเพื่อให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน
    2. เป็นสิ่งที่ช่วยสร้างความผ่อนคลายทางจิตใจ อารมณ์ ความรู้สึก และเกิดความความเทิง สนุกสนาน ของผู้คนนั้นๆ
    3.รัฐบาลมีความต้องการพัฒนาประเทศให้มีความทันสมัยเหมือนชาติตะวันตก รวมทั้งต้องการปลูกฝังให้คนไทยมีความคิดแบบชาตินิยม จึงกำหนดวัฒนธรรมใหม่ โดยทำให้เกิดแนวเพลงปลุกใจขึ้น และการต่อต้านลัทธิทุนนิยมตะวันตกประกอบกับบ้านเมือง ต้องการการปกครองแบบประชาธิปไตย ทำให้ศิลปินเกิดแรงบันดาลใจ ในการผลิตผลงานเพื่อสังคมขึ้น ทำให้เกิดแนวเพลงเพื่อชีวิต ศิลปินในช่วงนั้น เช่น คาราวาน แฮมเมอร์ คาราบาว เป็นต้น


    ตอบลบ
  13. นางสาว ญาณิศา โยธา ม.6/2 เลขที่ 16
    คำตอบชุดที่1
    1. ความเชื่อ และค่านิยมของคนทั่วไป
    2. ทำให้เกิดความสนุกสนาน คลายเครียด และ ดนตรีนอกจากจะฟังเพื่อเพลิดเพลินแล้วถ้าเราสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับชีวิต ประจำวัน
    3. ดนตรีเปรียบเสมือนเป็นพื้นฐานของสังคม ซึ่งมันสามารถอธิบายถึงปรากฏการณ์ทาง สังคมการเมืองและวัฒนธรรมได้

    ตอบลบ
  14. นางสาวชลินภากรณ์ อัศวโชค ม.6/2 เลขที่8
    คำถามชุดที่1
    1). เกิดจากความเชื่อของมนุษย์ เนื่องจากบางอย่างต้องมีดนตรีเพื่อประกอบพิธีกรรมทางศาสนา หรือประเพณีวัฒนธรรม
    2). ผ่อนคลายความเครียด ทำให้มีความสุขได้
    3). สมัยของจอมพลป.มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นหลายอย่าง ซึ่งหนึ่งในนั้นก็คือวงการดนตรี ที่มีการสั่งห้ามการเล่นดนตรีไทย และส่งเสริมดนตรีสากลเพื่อความเป็นอารยะประเทศ

    ตอบลบ
  15. น.ส.มยุรา จริยภมรกุร ม.6/2 เลขที่13
    1.เพื่อความสนุก และมีความเชื่อ
    2.ทำให้คนไทยไม่เครียด เพื่อความเพลิดเพลิน และเสดงถึงความก้าวหน้าของดนตรีสากล
    3.เกิดการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมของไทยและต่างประเทศขึ้น เกิดการแพร่หลายทั้งในและต่างประเทศมากขึ้น

    ตอบลบ
  16. นายจินตพันธ์พงศ์ จันอ้น ม.6/2 เลขที่ 9
    ตอบคำถามชุดที่ 1
    1.เกิดจากความเชื่อและประเพณี วัฒนธรรมในสมัยก่อน เพราะสมัยดึกดำบรรพ์ มนุษย์ก็ใช้ดนตรีเพื่อการผ่อนคลาย และเพื่อความสามัคคีในหมู่เหล่าหรือเผ่า แม้แต่บทสวดก็ยังถือเป็นบทเพลง
    2.ฟังแล้วรู้สึกผ่อนคลาย มีความรู้สึกใหม่ๆเกิดขึ้น ถ้ามีความเครียด ฟังแล้วก็สบายใจและสนุกสนาน เพลิดเพลิน
    3.ใช้ประกอบภาพยนต์หรือการแสดงต่างๆ จนทำให้มีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม
    เพราะสมัยจอมพล ป. ( สงครามฌลกครั้งที่ 2) ได้กล่าวไว้ว่าดนตรีไทยเป็นดนตรีที่ล้าหลัง จึงทำให้ดนตรีสากลเข้ามาแทนที่ ถึงกับขั้นที่ใครจะเล่นดนตรีต้ิงมีบัตรนักดนตรี หรือ แม้กระทั่งจะจัดงานแสดงดนตรีที่ใดต้ิงขออนุญาตจากทางราชการก่อน

    ตอบลบ
  17. นส.ปางคูณ ไชยยารักษ์ ม.6/2 เลขที่18
    ตอบคำถามตอนที่1
    1.เกิดจากการที่มนุษย์ให้ความสำคัญกับพิธีกรรม เมื่อประกอบกับพิธีกรรมจึงมีดนตรีมาเกี่ยวข้องเพื่อทำให้พิธีกรรมมีความสนุกสนาน มีชีวิตชีวามากขึ้น
    2.เข้ามาสร้างความบันเทิงให้กับสังคมไทยโดยเปลี่ยนจากดนตรีไทย ทำให้มีศิลปะการดนตรีที่หลากหลายกว่าเดิม ดนตรีสากลมีจังหวะที่หลากหลาย สามารถเล่นได้หลายแบบหลายจังหวะมากกว่าดนตรีไทย ทำให้มีความสนุกสนานและทันสมัยมากขึ้น
    3.บางยุคสมัยกาเมืองดนตรีสากลถูกกั้นขอบเขตในการแสดงดนตรีสากล และมีบางยุคสมัยการเมืองที่ให้อิสระแก่งานดนตรีสากล

    ตอบลบ
  18. นาย พิชัยภูษิต ศริมังคลากุล ม.6/2 เลขที่ 1
    คำถามชุดที่ 1 "
    1) เกิดจากความเชื่อ
    2)สร้างความสนุกสนาน
    3) การแลกเปลี่ยนดนตรีการแสดง

    ตอบลบ
  19. นางสาว กรกนก เพลงศิลปวัฒนา ม.6/2 เลขที่ 3
    คำถามตอนที่ 1
    1)เพราะทำให้เกิดความศักดิ์สิทธิ์และให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์พอใจ
    2) ให้ความสนุกสนาน ความเพลิดเพลิน
    3)ดนตรีสากลเป็นดนตรีประเภทหนึ่งที่ชาวตะวันตกได้นำมาเผยแพร่จนเป็นที่รู้จักกันทั่วโลก จึงทำให้ชนหลายชาติหลายภาษาสามารถเล่นดนตรีสากลได้

    ตอบลบ
  20. นางสาว ศจี. วงศ์ฟู ชั้น ม 6/2 เลขที่ 29
    1ค่านิยมมักจะเกิดจากความเชื่อของเเต่ละศาสนาต่างๆเเละการทำพิธีกรรมทางศาสนาเเต่ละศาสนา


    2 ช่วยลดึวามเครียดเเละสร้างความสามัคคีในหมู่ขณะไปในตัวด้วยเพราะดนตรีสากลมักจะเล่นกันเป็นหมู่คณะเพื่อทำนองเเละเสียงเครื่องดนตรีที่ต่างกันจะได้เสียงที่ต่างกันมารวมกันจนเกิดทำนองใหม่

    3 การเเลกเปลี่ยนวัฒนธรรมเเละการสร้างสัมพันธไมตรีจิตกับต่างประเทศผ่านทางด้านดนตรี

    ตอบลบ
  21. นางสาวสุธินี ศันสนะจิตสกุล ม6/2 เลขที่ 17
    1.ตอบ เกิดมาจากความเชื่อถือในลัทธิในขนบธรรมเนียมประเพณีต่าง ๆ ตลอดจนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายตามที่มนุษย์เผ่าพันธุ์ต่าง ๆ สมมติขึ้น และมีส่วนสำคัญที่ทำให้ศาสนารุ่งเรืองขึ้นเป็นลำดับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งศาสนาคริสต์

    2.ตอบ
    2.1 ด้านการศึกษา นำเสียงดนตรีมาใช้ประกอบในการสอนแบบสร้างสรรค์ทางศิลปะผลปรากฏว่าเสียงดนตรี สามารถส่งเสริมพัฒนาการทางอารมณ์ เสริมสร้างความคิดจินตนาการ ให้สอดคล้องกับการใช้ความคิด ทำให้หายเหนื่อย และผ่อนคลายความตึงเครียด
    2.2 ด้านการแพทย์ ใช้ เสียงดนตรีกระตุ้นทารกในครรภ์มารดา ผลปรากฏว่าเด็กมีปฏิกิริยาตอบรับกับเสียงเพลง ทั้งทางพฤติกรรมและร่างกายที่ดี
    2.3 ด้านสังคม มีการใช้จังหวะดนตรีมากำหนดควบคุมการทำงาน เพื่อให้เกิดความพร้อมเพรียง เช่นการพายเรือจังหวะยก-ส่งของ เป็นต้น
    2.4 ด้านจิตวิทยา ใช้เสียงดนตรีปรับเปลี่ยนนิสัยก้าวร้าวของมนุษย์ รักษาโรคสมาธิสั้น โดยเฉพาะเด็กจะทำให้มีสมาธิยาวขึ้น
    2.5 ด้านกีฬา ใช้ดนตรีประกอบกิจกรรมกีฬา เช่น ยิมนาสติกกิจกรรมเข้าจังหวะ การเต้นแอโรบิค เป็นต้น
    3. ในปัจจุบันชีวิตประจำวันของคนไทยในยุคเศรษฐกิจและสังคมเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาในภาวะปัจจุบันนี้ ปัจจัยที่ทำให้ผู้คนเกิดความเครียด ความวิตกกังวลกับปัญหาต่าง ๆที่เข้ามารุมเร้าอย่างต่อเนื่องบางคนหาทางออกของปัญหาได้บางคนไม่ได้และแก้ ปัญหาโดยการคิดสั้น ซึ่งมีตัวอย่างมากมายในสังคมไทย แนวทางหนึ่งที่สามารถผ่อนคลายความเครียด ความวิตกกังวลได้คือการเปิดโอกาสให้กับ ดนตรี เข้ามามีส่วนร่วมในชีวิตประจำวันอย่างต่อเนื่อง มีผลต่อการเสริมสร้างสุขภาพกายและใจ ให้มีความสดชื่นแจ่มใส เบิกบาน เข้มแข็ง และมีกำลังใจในการต่อสู้กับอุปสรรคนานาประการอย่างมีสติ และสามารถดำรงชีวิตอย่างมีความสุข

    ตอบลบ
  22. นางสาว กรวินท์ กันทิยะ ม.6/2 เลขที่ 28
    ตอบคำถามชุดที่ 1
    1.ความเชื่อของแต่ละประเพณีและนำมาประกอบพิธีกรรมต่างๆเพื่อสร้างความบันเทิง ความสนุกสนาน และ ผ่อนคลาย
    2.สร้างความเพลิดเพลินลดความตึงเครียดผ่อนคลายจิตใจและมีความบันเทิงให้แก่สังคมไทย
    3.ดนตรี เข้ามามีส่วนร่วมในชีวิตประจำวันอย่างต่อเนื่อง มีผลต่อการเสริมสร้างสุขภาพกายและใจ ให้มีความสดชื่นแจ่มใส เบิกบาน เข้มแข็ง และมีกำลังใจในการต่อสู้กับอุปสรรคต่างๆมีสติ และสามารถดำรงชีวิตอย่างมีความสุขและยังได้แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมอีกด้วย

    ตอบลบ
  23. นาย เสฎฐวุฒิ ถิ่นจันทร์ฉาย ม.6/2 เลขที่7
    คำถามชุดที่ 1 "
    1)เกิดจากความเชื่อ
    2)สร้างความบันเทิง ลดความตึงเครียด
    3)สมัยจอมพลป.นั้นได้มีการกล่าวว่าดนตรีไทยนั้นล้าหลังดนตรีสากลจึงเข้ามา

    ตอบลบ
  24. น.ส.อธิชา วรรณประเวศ ม.6/2 เลขที่ 21

    1.เป็นการสืบสารวัฒนธรรมไทยตามสมัยโบราณและมีความเชื่อของบุคคลสืบเนื่องต่อกันมาจากบรรพบุรุษ
    2.เป็นส่วนหนึ่งของชีวิตช่วยให้ความเพลิดเพลินและทำให้คลายเครียดและจิตใจแจ่มใสร่าเริงบันเทิงใจในชีวิตประจำวัน
    3.เปรียบเสมือนเป็นพื้นฐานของสังคมและวัฒนธรรมดนตรีมักถูกใส่ลงไปในสังคมเพื่อสร้างพลังบางอย่างให้กับกลุ่มชนต่างๆ และทำให้เรารำลึกถึงมุมมองเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตและเป็นการบันทึกภาพทางประวัติศาสตร์ที่สามารถสะท้อนเหตุการณ์สำคัญต่างๆ

    ตอบลบ
  25. นางสาว จิราภรณ์ มังคะละ ม.6/2 เลขที่ 20
    คำถามชุดที่1
    1. เป็นเพราะความเชื่อในการประกอบพิธีกรรมที่มนุษย์มีความศรัทธาและมีความเชื่อ โดยนำดนตรีมาประกอบทางพิธีกรรม
    2. ช่วยสร้างความสุข ความสบายใจ และความบันเทิงแก่จิตใจ
    3. ดนตรีเปรียบเสมือนพื้นฐานทางสังคม ซึ่งมันสามารถอธิบายถึงปรากฏการณ์สังคมการเมืองได้ บางครั้งสังคมอาจไม่ได้มีความสัมพันธ์ที่ไม่ลงไปสู่ดนตรีโดยตรงทั้งหมดแต่ดนตรีมันถูกใส่ลงไปในสังคมเพื่อสร้างพลังบางอย่างอยู่ให้กับกลุ่มชนต่างๆ

    ตอบลบ
  26. น.ส.เวธกา วนชยางค์กูล ม6/2 เลขที่.6
    คำถามชุดที่.1
    ตอบ1.เกิดจากความเชื่อและประเพณี วัฒนธรรมในสมัยก่อน
    2.รู้สึกผ่อนคลาย ลดความเครียด ฟังเวลารู้สึกสบายใจ
    3.การเเลกเปลี่ยนวัฒนธรรมของเเต่ล่ะชาติ และการสร้างสัมพันธไมตรี

    ตอบลบ
  27. นาย โดนัลด์ ปาวงค์ ม.6/2 เลขที่ 2/ เลขที่ใหม่ 5
    คำถามชุดที่ 1
    ตอบข้อ1= เพราะในอดีตการประกอบพิธีกรรมต่างๆของคนไทยแตกต่างกัน แม้กระทั่งชีวิตความเป็นอยู่ ประเพณีวัฒนธรรมและความเชื่อ ดังนั้นการประกอบพิธีกรรมมีความเป็นมา มาตั้งแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบัน จากรุ่นสู่รุ่น ดังนั้นวิถีชีวิตความเป็นอยู่ความเชื่อต่างๆ เราล้วนได้รับมาจากอดีตกาลทั้งสิ้น

    ตอบข้อ2= มีความเพลิดเพลินไปกับจังหวะและทำนอง ได้ฟังสำเนียงภาษาใหม่ๆที่ยังไม่เคยได้ยินมา ผ่อนคลายความตึงเครียดเพราะดนตรีสากลล้วนมีทุกอารมณ์ในการขับร้อง ไม่ว่าจะเป็นเพลงเจ็บ เพลงเศร้า เพลงอกหัก เราก็แปลไม่ออกอยู่ดี เพราะว่าจิตใจเราอยู่กับเสียงเพลงและเทคนิค ทำนองใหม่ๆ อีกทั้งยังมีเครื่องดนตรีใหม่ๆที่แตกต่างจากดนตรีไทย และดนตรีสากลยังเป็นที่ยอมรับของทั่วโลกและมีอยู่ทุกประเทศทั่วโลก

    ตอบข้อ3= ในชีวิตประจำวันของคนไทยในยุคเศรษฐกิจและสังคมเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาในภาวะ ทั้งด้านการเมืองและการปกครอง ปัจจุบันนี้เป็นปัจจัยที่ทำให้ผู้คนเกิดความเครียด ความวิตกกังวลกับปัญหาต่าง ๆที่เข้ามารุมเร้าอย่างต่อเนื่องบางคนหาทางออกของปัญหาได้บางคนไม่ได้และแก้ ปัญหาโดยการคิดสั้น ซึ่งมีตัวอย่างมากมายในสังคมไทย แนวทางหนึ่งที่สามารถผ่อนคลายความเครียด ความวิตกกังวลได้คือการเปิดโอกาสให้กับ ดนตรี เข้ามามีส่วนร่วมในชีวิตประจำวันอย่างต่อเนื่อง มีผลต่อการเสริมสร้างสุขภาพกายและใจ ให้มีความสดชื่นแจ่มใส เบิกบาน เข้มแข็ง และมีกำลังใจในการต่อสู้กับอุปสรรคนานาประการอย่างมีสติ และสามารถดำรงชีวิตอย่างมีความสุข

    ตอบลบ
  28. นาย วรายุส จิตพรพิพัฒน์ ม.6/1 เลขที่ 8
    ตอบคำถามชุดที่ 1
    1 : เกิดจากความเชื่อ ประเพณี และการบอกเล่าต่อกันมา

    2 : ช่วยสร้างความบันเทิงและช่วยสร้างแรงบันดาลใจในการทำสิ่งต่างๆ

    3 : ช่วยสร้างสัมพันธ์ระหว่างประเทศตะวันตกและตะวันออก มีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมในการ
    เล่นดนตรีและเครื่องดนตรี

    ตอบลบ
  29. น.ส.กนกกร กิจทองพูล ม.6/3 เลขที่12
    1.การนำเสียงเข้าเป็นส่วนหนึ่งของพิธีกรรม สิ่งใกล้ตัวและพบเห็นได้ในหลายสังคมวัฒนธรรมคือการใช้เสียงที่เกิดจากการตี มีฆ้อง- กลอง เป็นเครื่องมือสำคัญ  และมีการใช้เครื่องเป่าที่เรียกว่าปี่เข้ามาร่วม   ท้ายที่สุดก็ประสมเป็นวงดนตรี   จากเดิมที่มีเสียงเพียงเสียงเดียวก็เพิ่มเสียงมากขึ้นจนเป็นทำนอง    มีเนื้อคำดีๆ มีความหมายตรงใจ เข้ามาขับร้อง    และผสมผสานจนมีระเบียบวิธีของเป็นพิธีกรรมและสืบทอดต่อกันมา

    2.ดนตรีให้ความสนุกนานและผ่อนคลายความเครียดให้กับคนในสังคม การใช้ดนตรีเป็นสื่อกลางในการช่วยบำบัดผู้ป่วย การใช้ดนตรีเพื่อเป็นสื่อเพื่อสร้างพลังบางอย่างให้กับกลุ่มชนต่าง ๆ เพื่อสร้างความสำนึกให้เกิดขึ้นกับสังคมและประเทศชาติ  เช่น การนำเอาดนตรีและบทเพลงมาใช้เพื่อเป็นสื่ออำนาจของกลุ่มชนในการต่อสู้เพื่อแย่งชิงพื้นที่ทางสังคมวัฒนธรรม  เป็นสื่อกลางในการติดต่อ และการทำความเข้าใจกันระหว่างมนุษย์ที่เก่าแก่ที่สุด 

    3. การเข้ามาของดนตรีสากล ส่งผลให้เกิด เพลงไทยสากล ขึ้น ซึ่งแม้ในระยะแรกๆยังไม่เป็ยที่นิยม แต่ต่อม เพลงไทยสากลเหล่านี้ก็เริ่มมีบทบาทในสังคมมากขึ้น  ส่งผลให้เพลงไทยสากลสามารถเผยแพร่ไปได้อย่างกว้างขวาง และสถาปนาบทบาทอันสำคัญยิ่งในสังคมไทย และทำให้ดนตรีไทยแบบแผนต้องกลายสภาพเป็น ดนตรีไทยเดิม ที่ล้าหลังและไม่สามารถปรับตัวให้ทันโลก  การเข้ามาของดนตรีสากลจึงเป็นจุดเปลี่ยนและ เป็นฟันเฟืองสำคัญให้กับนโยบายเชิงวัฒนธรรมในยุคของจอมพล ป. พิบูลสงคราม

    ตอบลบ
  30. นส จันทร์ฟอง จายนวล
    ม. 6/3 เลขที่ 5
    คำถามชุดที่ 1
    1. ตอบ ค่านิยมในการนำดนตรีมาใช้ประกอบพิธีกรรมของคนไทยเกิดขึ้นมาจากความเชื้อต่างๆ ที่เห็นได้ชัดเลยคือทางศาสนา เช่น ขบวนแห่นาค ขนวนทอดกฐิน จะมีการใช้ดนรตรีประกอบพิธี นอกจากนี้ยังมี ขบวนขันหมาก และพิธีกรรมอีกมากหมายที่ใช้ดนตรีประกอบ ซึ่งทำให้รื่นเริง สนุกสนาน และเป็นเอกลักษณ์ของไทย แล้วยังเกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่และการดำรงชีวิตของคนไทยที่ทำให้เกิดตนตรีขึ้นมาใช้ในการประกอบพิธีต่างด้วย
    2.ตอบ ช่วยสร้างความรื่นเริง ความสนุกสนาน ช่วยสร้างแรงบรรดาลใจให้แก่ผู้คนที่จะสร้างผลงานด้นดนตรี ช่วยทำให้คนไทยเก่งภาษายิ่งขึ้น เป็นแบบอย่างในการสร้างผลงานดนตรี ดนตรีสากลมีหลายประเภท บางประเภทดนตรีม่มี ดังนั้นทำให้เรารู้จักดนตรีหลากหลายแนวยิ่งขึ้น
    3.ตอบ ดนตรีกับการเมืองไทยเป็นแนวคิดของการนำเอาดนตรีเข้าไปใช้กับการเมือง ทั้งนี้เพื่อเป้าประสงค์หลาย ๆ อย่าง เช่น การสื่อทางความคิด การแสวงหาเชิงอำนาจ การก่อเกิดความขัดแย้ง ตลอดจนการนำไปสู่การเคลื่อนไหวทางสังคมและเกิดการปรับเปลี่ยนไปในที่สุด จากเหตุปัจจัยนี้เมื่อมองย้อนกลับไปในสังคมการเมืองไทยได้พบถึงมุมมองของการนำเอาดนตรีเข้าไปมีบทบาทต่อกลุ่มชนหลากหลายกลุ่มเพื่อสร้างความเป็นอัตลักษณ์ของตน ซึ่งปรากฏการณ์นี้เกิดขึ้นในสังคมอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด สิ่งที่น่าสนใจทำให้มองเห็นถึงวิธีคิด สาระ และภาพสะท้อน ต่างๆ ของสังคมที่มีมิติสัมพันธ์เชิงซ้อนในหลายด้าน ซึ่งสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้เป็นมุมมองของการเชื่อมโยงดนตรีที่เกิดขึ้นให้เข้ากับทุกภาคส่วนของสังคม เพราะเชื่อว่าการเชื่อมโยงดังกล่าวสามารถสร้างความเข้าใจดนตรีที่มีผลต่อโครงสร้างทางสังคมวัฒนธรรมการเมืองทั้งระบบ
    ทั้งนี้ ดนตรีเป็นปัจจัยหนึ่งที่ถูกกำหนดบทบาทที่ชัดเจนในการสะท้อนกลุ่มชนเพื่อใช้เรียกร้องแนวอุดมการณ์ร่วมทางการเมือง ดังเช่นการแย่งชิงพื้นที่ของการต่อสู้อุดมการณ์การเมืองไทยเป็นต้น เช่นการสร้างเพลงแสดงความคิดคติให้คนคล้อยตามประสงค์ การสร้างเพลงปลุกใจให้คนไทยรักและสามัคคีกันค่ะ

    ตอบลบ
  31. น.ส.กนกกร กิจทองพูล ม.6/3 เลขที่12
    1.เกิดจากการนำเสียงเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของพิธีกรรม สิ่งที่พบเห็นได้ในหลายสังคมวัฒนธรรมคือการใช้เสียงที่เกิดจากการตี มีฆ้อง- กลอง เป็นเครื่องมือสำคัญและมีการใช้เครื่องเป่าที่เรียกว่าปี่เข้ามาร่วม ท้ายที่สุดก็ประสมเป็นวงดนตรี จากเดิมที่มีเสียงเพียงเสียงเดียวก็เพิ่มเสียงมากขึ้นจนเป็นทำนอง มีเนื้อคำดีๆ มีความหมายตรงใจ เข้ามาขับร้อง และผสมผสานจนมีระเบียบวิธีของเป็นพิธีกรรมและสืบทอดต่อกันมา

    2.ดนตรีให้ความสนุกนานและผ่อนคลายความเครียดให้กับคนในสังคม การใช้ดนตรีเป็นสื่อกลางในการช่วยบำบัดผู้ป่วย การใช้ดนตรีเพื่อเป็นสื่อเพื่อสร้างพลังบางอย่างให้กับกลุ่มชนต่าง ๆ เพื่อสร้างความสำนึกให้เกิดขึ้นกับสังคมและประเทศชาติ  เช่น การนำเอาดนตรีและบทเพลงมาใช้เพื่อเป็นสื่ออำนาจของกลุ่มชนในการต่อสู้เพื่อแย่งชิงพื้นที่ทางสังคมวัฒนธรรมเป็นสื่อกลางในการติดต่อ และการทำความเข้าใจกันระหว่างมนุษย์ที่เก่าแก่ที่สุด 

    3. การเข้ามาของดนตรีสากลส่งผลให้เกิดเพลงไทยสากลขึ้นซึ่งแม้ในระยะแรกๆยังไม่เป็ยที่นิยมแต่ต่อมาเพลงไทยสากลเหล่านี้ก็เริ่มมีบทบาทในสังคมมากขึ้นส่งผลให้เพลงไทยสากลสามารถเผยแพร่ไปได้อย่างกว้างขวาง และสถาปนาบทบาทอันสำคัญยิ่งในสังคมไทยและทำให้ดนตรีไทยแบบแผนต้องกลายสภาพเป็นดนตรีไทยเดิมที่ล้าหลังและไม่สามารถปรับตัวให้ทันโลก การเข้ามาของดนตรีสากลจึงเป็นจุดเปลี่ยนและเป็นฟันเฟืองสำคัญให้กับนโยบายเชิงวัฒนธรรมในยุคของจอมพล ป. พิบูลสงคราม

    ตอบลบ
  32. นส จันทร์ฟอง จายนวล
    ม. 6/3 เลขที่ 5
    คำถามชุดที่ 1
    1. ตอบ ค่านิยมในการนำดนตรีมาใช้ประกอบพิธีกรรมของคนไทยเกิดขึ้นมาจากความเชื้อต่างๆ ที่เห็นได้ชัดเลยคือทางศาสนา เช่น ขบวนแห่นาค ขนวนทอดกฐิน จะมีการใช้ดนรตรีประกอบพิธี นอกจากนี้ยังมี ขบวนขันหมาก และพิธีกรรมอีกมากหมายที่ใช้ดนตรีประกอบ ซึ่งทำให้รื่นเริง สนุกสนาน และเป็นเอกลักษณ์ของไทย แล้วยังเกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่และการดำรงชีวิตของคนไทยที่ทำให้เกิดตนตรีขึ้นมาใช้ในการประกอบพิธีต่างด้วย
    2.ตอบ ช่วยสร้างความรื่นเริง ความสนุกสนาน ช่วยสร้างแรงบรรดาลใจให้แก่ผู้คนที่จะสร้างผลงานด้นดนตรี ช่วยทำให้คนไทยเก่งภาษายิ่งขึ้น เป็นแบบอย่างในการสร้างผลงานดนตรี ดนตรีสากลมีหลายประเภท บางประเภทดนตรีม่มี ดังนั้นทำให้เรารู้จักดนตรีหลากหลายแนวยิ่งขึ้น
    3.ตอบ ดนตรีกับการเมืองไทยเป็นแนวคิดของการนำเอาดนตรีเข้าไปใช้กับการเมือง ทั้งนี้เพื่อเป้าประสงค์หลาย ๆ อย่าง เช่น การสื่อทางความคิด การแสวงหาเชิงอำนาจ การก่อเกิดความขัดแย้ง ตลอดจนการนำไปสู่การเคลื่อนไหวทางสังคมและเกิดการปรับเปลี่ยนไปในที่สุด จากเหตุปัจจัยนี้เมื่อมองย้อนกลับไปในสังคมการเมืองไทยได้พบถึงมุมมองของการนำเอาดนตรีเข้าไปมีบทบาทต่อกลุ่มชนหลากหลายกลุ่มเพื่อสร้างความเป็นอัตลักษณ์ของตน ซึ่งปรากฏการณ์นี้เกิดขึ้นในสังคมอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด สิ่งที่น่าสนใจทำให้มองเห็นถึงวิธีคิด สาระ และภาพสะท้อน ต่างๆ ของสังคมที่มีมิติสัมพันธ์เชิงซ้อนในหลายด้าน ซึ่งสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้เป็นมุมมองของการเชื่อมโยงดนตรีที่เกิดขึ้นให้เข้ากับทุกภาคส่วนของสังคม เพราะเชื่อว่าการเชื่อมโยงดังกล่าวสามารถสร้างความเข้าใจดนตรีที่มีผลต่อโครงสร้างทางสังคมวัฒนธรรมการเมืองทั้งระบบ
    ทั้งนี้ ดนตรีเป็นปัจจัยหนึ่งที่ถูกกำหนดบทบาทที่ชัดเจนในการสะท้อนกลุ่มชนเพื่อใช้เรียกร้องแนวอุดมการณ์ร่วมทางการเมือง ดังเช่นการแย่งชิงพื้นที่ของการต่อสู้อุดมการณ์การเมืองไทยเป็นต้น เช่นการสร้างเพลงแสดงความคิดคติให้คนคล้อยตามประสงค์ การสร้างเพลงปลุกใจให้คนไทยรักและสามัคคีกันค่ะ

    ตอบลบ
  33. น.ส.ธีราพร ศรีวัฒนะ ม.6/3 เลขที่ 8
    1. สมัยดึกดำบรรพ มนุษย์ใช้ดนตรี เพื่อการผ่อนคลาย และ เพื่อความสามัคคี ในหมู่เหล่า ในสมัยก่อนดนตรี อาจไม่มี โน๊ต ที่ชัดเจน ส่วนมากยังเน้นเพียงแค่การให้จังหวะ
    ดนตรีค่อยๆ มีบทบาท เพื่อสื่อสารทางด้านอารมณ์
    แม้แต่บทสวด ยังถือเป็นบทเพลง มีท่วงทำนอง มีสูงต่ำ การเว้นจังหวะ
    และนอกจากความรู้สึก บทเพลงยังสื่อถึงความหมายได้ จนสามารถกลายเป็นธรรมเนียมไปโดยปริยาย
    2.เพราะเสียงดนตรีช่วยให้ผ่อนคลาย ทำให้จิตใจร่าเริงแจ่มใส เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ จึงมีความสำคัญต่อมนุษย์
    3.ใช้จังหวะดนตรีมากำหนดควบคุมการทำงาน เพื่อให้เกิดความพร้อมเพรียง เช่นการพายเรือ
    การใช้ดนตรีปลุกเร้าอารมณ์ให้เกิดความรัก ความสามัคคีในหมู่คณะ เช่นเพลงปลุกใจ เพลงเชียร์ เป็นต้น ใช้เสียงดนตรีเพื่อสร้างบรรยากาศในการประกอบพิธีกรรมต่างๆ ให้ดูศักสิทธิ์ เคร่งขรึม น่าเชื่อถือ หรือสื่ออารมณ์ความรู้สึกที่ร่าเริง เบิกบาน สนุกสนาน ในงานเลี้ยงสังสรรค์ งานฉลองต่างๆ เป็นต้น นอกจากนั้นยังเป็นการสร้างงาน อาชีพ ให้กับบุคคลในสังคมอย่างมากมายทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น นักดนตรี นักร้อง ครูสอนดนตรี นักประพันธ์เพลง นักผลิตรายการคอนเสิร์ต นักดนตรีบำบัด ผู้อำนวยการเพลงหรือ วาทยากรนักเขียนทางดนตรี นักประดิษฐ์เครื่องดนตรี และผู้ซ่อมหรือปรับเสียงเครื่องดนตรี เป็นต้น

    ตอบลบ
  34. น.ส. สุชาพิชญ์ ปลุกใจ ม. 6/1 เลขที่ 7
    1. เกิดจากความเชื่อของมนุษย์ และความเชื่อของประเพณีของแต่ล่ะถิ่น
    2. มีจังหวะที่ไม่เหมือนดนตรีไทยและมีทำนองที่ไพเราะ ฟังแล้วทำให้ผู้ฟังรู้สึกสบาย
    3. การรู้จักฟังดนตรีด้วยความนิยมและรู้สึกซาบซึ้งในรสของเพลงนั้น มีประโยชน์สำหรับชีวิตอย่างมาก คือ ในชีวิต ประจำวัน ดนตรีมีประโยชน์ในการผ่อนคลายอารมณ์ ในเวลาที่รู้สึกเคร่งเครียดหรือเร่าร้อนด้วยโทสะ ดนตรีก็ช่วยชโลมใจ ให้เย็นลง เป็นเพื่อนในเวลาเหงา กระตุ้นให้รู้สึกคึกคักกล้าหาญในเวลาที่หวาดกลัวภัย อาหารมีประโยชน์ทางกายฉันใด ดนตรีก็มีประโยชน์ทางใจฉันนั้น เพราะเมื่อเราได้ฟังเพลงที่ไพเราะ เรารู้สึกซาบซึ้งและอิ่มอกอิ่มใจ เช่นเดียวกับ เมื่อเราเห็นสิ่งที่สวยงามทำให้ชีวิตมีความสดชื่น คุณค่าของดนตรีอีกประการหนึ่งก็คือ ดนตรีเป็นภาษานานาชาติ เข้าใจกันได้ไม่เลือกเชื้อชาติเป็นสื่อกลางสำหรับความสัมพันธ์ ความเข้าใจอันดีต่อกัน ของมวลมนุษย์ทั่วโลก ไม่แบ่งอายุ ไม่แบ่งชั้นวรรณะ และเชื้อชาติ ดังจะเห็นได้จาก การบรรเลงดนตรี ร่วมวงกันระหว่างนานาชาติซึ่งพูดกันคนละภาษาแต่ภาษาดนตรีนั้นทุกคนเข้าใจ ดนตรีแสดงถึงความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และที่สำคัญยิ่งคือในโลกของดนตรีนั้นเป็นโลกแห่งความสันติ ศิลปะการดนตรีเป็นส่วนสำคัญยิ่งส่วนหนึ่งแห่งความเป็นอยู่ของ อารยชนในด้านความรู้และความบันเทิงอันสูงค่า เป็นขนบธรรมเนียมที่สร้างขึ้น เป็นการวางรากฐานแห่งความเจริญ และเป็นสิ่งแสดงถึงวัฒนธรรม อันเป็นสมบัติของและชาติด้วย

    ตอบลบ
  35. นาย นิมิตร เฉิน ม.6/1 เลขที่25
    ตอบคำถามชุดที่1
    1.เกิดจากความเชื่อ ประเพณีวัฒนธรรม
    2.ช่วยให้ผ่อนคลาย มีความสุข ชีวิตสนุกสนันมากขึ้น
    3.ดนตรีสากลเข้ามาในประเทศ จะเกิดการแลกเปลี่ยรวัฒนธรรมในการเล่นดนตรี

    ตอบลบ
  36. ตอบข้อ 1 - คนไทยนำดนตรีมาใช้ในพิธีกรรมตั้งแต่เกิดจนกระทั่งวาระสุดท้ายของชีวิตดังที่ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช ได้กล่าวว่า ทัศนคติของคนไทยในสมัยโบราณเห็นว่าความสนุกสนานรื่นเริงเป็นมาตรฐานของชีวิตที่ดี นาฏศิลป์และดนตรีไทยจึงเข้ามามีบทบาทเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของคนไทยแต่ละช่วง นอกจากนี้ดนตรีไทยยังเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องประเพณีทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับศาสนา
    ตอบข้อ 2 - ดนตรีก่อให้เกิดความรู้สึกที่อ่อนโยน จิตใจแจ่มใสร่าเริง มีความคิดสร้างสรรค์ ตลอดจนเป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ห่างไกลจากยาเสพติด จึงควรส่งเสริมให้ นักเรียนหันมาเล่นดนตรี และร่วมกิจกรรมทางดนตรีสากล เพื่อให้เกิดความบันเทิงทางจิตใจ ความรัก ความสามัคคีในหมู่คณะและยังเป็นการพัฒนาทักษะทางดนตรีที่ถูกต้องเหมาะสม กับวัย 
    ตอบข้อ 3 - การศึกษาดนตรีเพื่อทำความเข้าใจชีวิตทางการเมือง เป็นกลวิธีในการสร้างสรรค์ทางสังคมในโลกยุคปัจจุบัน เป็นการเชื่อมพรมแดนของการสื่อสารระหว่างสุนทรียศาสตร์ให้เข้าหาสังคมศาสตร์และขยายขอบเขตทางสังคมศาสตร์ด้วยการศึกษาสังคม วัฒนธรรมและการเมือง ในฐานะ ที่เป็นการแสดงสดและสุนทรียรสเชิงมานุษยวิทยา 

    น.ส. ชญานิศ กานต์อาสิญจ์ ม. 6/1 เลขที่ 12

    ตอบลบ
  37. ชื่อ ชลธิดา ศรีภูมินทร์ ชั้น ม.6/1 เลขที่ 14

    ข้อ 1 ตอบ การนำดนตรีมาใช้ประกอบในพิธีกรรมต่างๆ มาจากความเชื่อต่างๆ

    ข้อ 2 ตอบ ให้ความสนุกสนาน รื่นเริง คลายความเครียด

    ข้อ 3 ตอบ ดนตรีได้เข้ามามีบทบาทสำคัญในการสนองตอบต่อนโยบายทางการเมืองในยุคชาตินิยมไทยอย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งได้มีการนำเอาดนตรี ตลอดจนละครมาเป็นสื่อปลุกกระแสความเป็นชาตินิยมและนโยบายการสร้างชาติ ซึ่งรัฐบาลในยุคนั้นถือได้ว่าเป็นรัฐบาลสามัญชนโดยจอมพล ป. พิบูลสงครามได้ให้ความสำคัญต่อแนวคิดชาตินิยม (nationalism) เพราะถือว่าสิ่งนี้เป็นการสร้างความชอบธรรมให้กับรัฐบาลสามัญชน ด้วยเหตุผลของการหาแนวร่วมโดยการสนับสนุนของประชาชน

    ตอบลบ
  38. นาย กิตติธัช ศรีพิศุทธิ์ตระกูล ม.6/1 เลขที่16 ชุดที่1
    ข้อ1.ตอบ เป็นความเชื่อของคนเรา และ เพื่อความบันเทิง
    ข้อ2.ตอบ สามารถช่วยในการระบายความเครียดได้ และทำให้อารมณ์ดี
    ข้อ3.ตอบ มีการแลกเปลียนระหว่างวัฒนธรรมตะวันตกและตะวันออกในการเล่นดนตรีและเครื่องดนตรี

    ตอบลบ
  39. นาย จิรัฏฐ์ เวศยพิรุฬห์ ม.6/1 เลขที่1
    ชุดที่1
    1.เกิดจากความเชื่อของคนในยุคก่อนที่เชื่อเรื่องการนำเสียงดนตรีส่งวิญญานเช่นชาวชนเผ่าอาปาเช่ ที่เล่นเครื่องดนตรีเพื่อสวดส่งวิญญาน
    2.ช่วยให้ความสนุกความรู้สึกในเนื้อเพลง
    3.การแลกเปลี่ยนประเพณีระหว่างประเทศ

    ตอบลบ
  40. นาย ศิริชัย อยู่สมบูรณ์ ม.6/1 เลขที่ 27
    1.เกิดจากความเชื่อครับ
    2.ทำให้มีความคิดสร้างสรรค์ ฟังเเล้วเกิดความสนุกสนาน
    3.เพื่อเผยเเพร่ดนตรีเพิ่มึสามสัมพันธ์ ระหว่างประเทศ เช่น ดนตรีไทย ดนตรีจีน ดนตรีตะวันตก เป็นต้น :)

    ตอบลบ
  41. นายมานพ แซ่ซู ชั้น.ม6/1 เลขที่24
    1.เกิดจากความเชื่อของมนุษย์ เพราะความเชื่อในการประกอบพิธีกรรมที่มนุษย์มีความศรัทธาและมีความเชื่อ โดยนำดนตรีมาประกอบทางพิธีกรรม
    2.สามารถช่วยจรรโลงจิตใจของผู้คนและสร้างความสามัคคี และสร้างความสุข ความสบายใจ และความบันเพลิดเพลินใจ
    3.บทบาทคือ อย่างเช่นในหนังเรื่องโหมโรง ซึ่งการเมืองเเละการปกครองมีบทบาทต่อการควบคุมการเล่นต่างๆของดนตรีมาก และนักดนตรีในยุคนั้นต้องมีบัตรนักดนตรีค่อยควบคุมดนตรีเปรียบเสมือนพื้นฐานทางสังคม ซึ่งมันสามารถอธิบายถึงปรากฏการณ์สังคมการเมืองได้ บางครั้งสังคมอาจไม่ได้มีความสัมพันธ์ที่ไม่ลงไปสู่ดนตรีโดยตรงทั้งหมดแต่ดนตรีมันถูกใส่ลงไปในสังคมเพื่อสร้างพลังบางอย่างอยู่ให้กับกลุ่มชนต่างๆ

    ตอบลบ
  42. นาย ปวรุตม์ ชุบสุวรรณ ม.6/1 เลขที่29
    1. มนุษย์ใช้ดนตรี เพื่อการผ่อนคลาย และ เพื่อความสามัคคี ในหมู่เหล่า ในสมัยก่อนดนตรี อาจไม่มี โน๊ต ที่ชัดเจน ส่วนมากยังเน้นเพียงแค่การให้จังหวะ ค่านิยมในการนำดนตรีมาใช้ประกอบพิธีกรรมของคนไทยเกิดขึ้นมาจากความเชื้อต่างๆ ที่เห็นได้ชัดเลยคือทางศาสนา ท้ายที่สุดก็ประสมเป็นวงดนตรี จากเดิมที่มีเสียงเพียงเสียงเดียวก็เพิ่มเสียงมากขึ้นจนเป็นทำนอง มีเนื้อคำดีๆ มีความหมายตรงใจ เข้ามาขับร้อง และผสมผสานจนมีระเบียบวิธีของเป็นพิธีกรรมและสืบทอดต่อกันมา
    2. ช่วยสร้างความสุข ความสบายใจ และความบันเทิงแก่จิตใจ ช่วยสร้างความรื่นเริง ความสนุกสนาน ช่วยสร้างแรงบรรดาลใจให้แก่ผู้คนที่จะสร้างผลงานด้นดนตรี ช่วยทำให้คนไทยเก่งภาษายิ่งขึ้น เป็นแบบอย่างในการสร้างผลงานดนตรี ดนตรีสากลมีหลายประเภท.
    3. ในชีวิตประจำวันของคนไทยในยุคเศรษฐกิจและสังคมเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาในภาวะ ทั้งด้านการเมืองและการปกครองดนตรีเปรียบเสมือนพื้นฐานทางสังคม ซึ่งมันสามารถอธิบายถึงปรากฏการณ์สังคมการเมืองได้ บางครั้งสังคมอาจไม่ได้มีความสัมพันธ์ที่ไม่ลงไปสู่ดนตรีโดยตรงทั้งหมดแต่ดนตรีมันถูกใส่ลงไปในสังคมเพื่อสร้างพลังบางอย่างอยู่ให้กับกลุ่มชนต่างๆ

    ตอบลบ
  43. น.ส.จีราวรรณ งามเริง ม.6/1 เลขที่ 13
    คำถามชุดที่ 1 ตอบ
    1.ความเชื่อ ประเพณี ศาสนา
    2.เพื่อความสนุกสนาน
    3.ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมของชาติตะวันตกกับชาติไทย ให้มีการแพร่หลายมากขึ้น แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างดนตรีสากลกับดนตรีไทย

    ตอบลบ
  44. นางสาวณัฐชา ฐานิตพิพัฒน์ ม6/1 เลขที่19
    1 เกิดจากความเชื่อวัฒนาธรรมและประเพณี ที่สืบทอดมาตั้งแต่สมัยก่อนน
    2ช่วยสร้างความบรรเทิงด้านต่างๆเช่นการไปผับ การฟังเพลง และทางด้านศาสนา เช่น งานศพ
    3เช่น สมัยจอมพล ป เข้าได้รับวัฒธรรมจากด้านต่างประเทศได้เข้ามามีบทบาทในสังคมไทย

    ตอบลบ
  45. นาย กษิดิ์เดช จันทรกิตติกุล เลขที่ 26 ชั้น ม. 6/1
    ชุดที่ 1 ตอบ
    1.ดนตรีเป็นที่ยอมรับทั่วโลกและเพื่อสร้างความศรัทธาและความเชื่อในพิธีกรรมนั้นๆ
    2.มากมาย เช่น การแสดง ละครเวที และพิธีกรรมต่างๆ ทำให้เกิดความสนุกสนาน รื่นเริง
    3.สร้างความสัมพันธุ์ ระหว่างประเทศ ทำให้เกิด ความสัมพันธุ์ที่ดีต่อกัน

    ตอบลบ
  46. นาย พิทยา กานต์อาสิญจ์ ม.6/1
    ชุดที่1
    1.เกิดจากความเชื่อจากรุ่นสู่รุ่น
    2.ดนตรีเพราะ เพลงสนุก จังหวะมันส์
    3.สร้างความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ จากดนตรีหลากหลายภาษา

    ตอบลบ
  47. นาย พิสิษฐ์ วังวรรณรัตน์ ม6/1 เลขที่17
    ตอบคำถามชุดที่ 1
    1.ความเชื่อของแต่ละประเพณีและนำมาประกอบพิธีกรรมต่างๆเพื่อสร้างความบันเทิง ความสนุกสนาน และ ผ่อนคลาย
    2.สร้างความเพลิดเพลินลดความตึงเครียดผ่อนคลาย
    3.ดนตรี เข้ามามีส่วนร่วมในชีวิตประจำวันอย่างต่อเนื่อง มีผลต่อการเสริมสร้างสุขภาพกายและใจ ให้มีความสดชื่นแจ่มใส เบิกบาน เข้มแข็ง และมีกำลังใจในการต่อสู้กับอุปสรรคต่างๆมีสติ และสามารถดำรงชีวิตอย่างมีความสุข

    ตอบลบ
  48. นางสาว วชิรญาณ์ สุยะใจ ม.6/1 เลขที่9
    คำถามชุดที่1
    1.เกิดจากความเชื่อของมนุษย์ ประเพณีและสืบต่อกันมา
    2. ดนตรีสากลช่วยทำให้ผ่อนคลายทางจิตใจ สนุกสนาน เพลิดเพลิน
    3. ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมของทางตะวันตกและชาวไทย และนำวัฒนธรรมของทั้ง2มาประสมประสานกัน ทำให้เกิดการแพร่หลายมากขึ้น

    ตอบลบ
  49. น.ส ปิยะบุษ เพ็ชรรัตน์

    หน่วยที่1
    1.ดนตรีประกอบพิธีกรรมหรือเพลงศาสนาเป็นดนตรีที่สืบเนื่องมาจากความเชื่อถือในลัทธิในขนบธรรมเนียมประเพณีต่าง ๆ ตลอดจนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายตามที่มนุษย์เผ่าพันธุ์ต่าง ๆ สมมติขึ้น และมีส่วนสำคัญที่ทำให้ศาสนารุ่งเรืองขึ้นเป็นลำดับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งศาสนาคริสต์

    2. 1.เสียงดนตรีเป็นสิ่งที่กล่อมหัวใจของคนให้อ่อนโยน เยือกเย็นดับทุกข์ได้ชั่วขณะ ปลุกใจให้รื่นเริงกล้าหาญ สิ่งเหล่านี้ย่อมเกิดแก่บุคคลผู้ฟังทั่วๆไป         2. เป็นเครื่องที่ทำให้โลกครึกครื้น     
       3. การแสดงมหรสพต่างๆ เป็นต้นว่า โขนละคร ดนตรีก็เป็นผู้ประกอบให้น่าดูสนุกสนานขึ้นสมอารมณ์ผู้ดูและผู้แสดง         4. ทำความสมบูรณ์ให้แก่ฤกษ์และพิธีต่างๆ ทั้งของประชาชนและของชาติ         5. เป็นเครื่องประกอบในการสงคราม ซึ่งเคยใช้ได้ผลมาแล้วหลายชาติ กล่าวโดยเฉพาะชาติไทยคราวสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก เมื่อยังดำรงพระยศเป็นเจ้าพระยาจักรีทรงรักษาเมืองพิษณุโลกต่อสู้ อะแซหวุ่นกี้ ก็ได้ทรงใช้ดนตรีเป็นเครื่องประกอบอุบาย เป็นต้น         6. ทำให้โลกเห็นว่าชาติไทยมีวัฒนธรรมเป็นอันดี ชาติใดที่มีวัฒนธรรมของตนอยู่อย่างดีย่อมเป็นที่ยกย่องของชาติทั้งหลาย

    3. ดนตรีเปรียบเสมือนเป็นพื้นฐานของสังคม ซึ่งมันสามารถอธิบายถึงปรากฏการณ์ทาง สังคมการเมืองและวัฒนธรรมได้ บางครั้งสังคมอาจไม่ได้มีความสัมพันธ์ที่ลงไปสู่ดนตรีโดยตรงทั้งหมด แต่ดนตรีมักถูกใส่ลงไปในสังคมเพื่อสร้างพลังบางอย่างให้กับกลุ่มชนต่าง ๆ ทั้งนี้เพื่อสร้างความสำเหนียก (perceive) ให้เกิดขึ้น กล่าวได้ว่าสังคมนั้นมีส่วนที่ทำให้เราเข้าใจดนตรีมากขึ้น ทำให้เรารำลึกถึงมุมมองเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต เช่น มุมมองของความสำเร็จ มุมมองของข้อผิดพลาด หรือมุมมองของข้อผิดพลาดที่ลึกซึ้ง และอื่น ๆ เป็นต้น ดนตรีหรือบทเพลงคือการบันทึกภาพทางประวัติศาสตร์ที่สามารถสะท้อนเหตุการณ์สำคัญต่างๆทางสังคม หรือสะท้อนแนวคิดอุดมการณ์ในแต่ละยุคสมัยอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้สิ่งที่เกิกเขึ้นถ้านำมาวิเคราะห์ลงไปอย่างลึกซึ้งก็จะพบกับสาระ วิธีคิด ตลอดจนภาพสะทฉนต่างๆในสังคมที่มีการเชื่อมโยงมิติความสคมพันธ์หลายๆด้าน บางครั้งทำให้เราสามารถนำกลับมาทบทวนและกำหนดแนวคิดเชิงปรัชญาทางดนตรีใหม่เพื่อนำม่ใช้กัยการเมืองไทยได้

    ตอบลบ
  50. นางสาวนภสร กัว ม.6/1 เลขที่3
    1.เกิดจากการได้จินตนาการให้เพลงพิธีกรรมสื่อบอกกริยาสุมมุติเมื่อเริ่มต้นการประกอบพิธีกรมมต่างๆหรือประเพณี
    2.เป็นการพัฒนาทักศษะทางด้านภาษา ทำให้มีความเข้าใจในด้านวัฒนธรรมต่างชาติได้ง่าย และเข้าถึงได้สะดวก หาเราเข้าใจในสิ่งที่ผู้ส่งสารต้องการสื่อออกมา ก็จะทำให้เกิดความสนุกสนานและเปิดโลกทัศน์ได้มากขึ้น
    3. เป็นภาพสะท้อนวิถีชีวิตและสังคมไทยในทุก ๆ ด้าน บทเพลงก็เป็นส่วนสำคัญในการผลักดันให้คนในชาติมีจิตสำนึกในการร่วมกันสร้างชาติ โดยสนองต่อนโยบายด้านต่าง ๆ ของรัฐในยุคสมัยนั้น ๆ
    ดังนั้นการศึกษาดนตรีการเมืองในยุคสมัยชาตินิยมไทย จะทำให้ทราบถึงคุณค่าของบทเพลงที่สามารถเข้าถึงอารมณ์ ความรู้สึก และความสำนึกร่วมของคนในชาติได้อย่างชัดเจน รวมทั้งทราบถึงภาพเชิงซ้อนทางมิติทางสังคมที่สะท้อนมาในแง่มุมต่าง ๆ เพื่อทำให้เข้าใจสังคมไทยมากขึ้น ตลอดจนการนำบทเพลงการเมืองที่อยู่ในยุคสมัยชาตินิยมที่เกิดขึ้นในอดีตไปประยุกต์ใช้กับสังคมปัจจุบันหรือสังคมอนาคตอย่างสร้างสรรค์เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดของประเทศชาติต่อไป

    ตอบลบ
  51. นางสาว จุฑามาศ วิรัชกุล ม.6/1 เลขที่6
    คำถามชุดที่1
    1. เกิดจากความเชื่อ การประกอบพิธีกรรมต่างๆ และเป็นประเพณีที่สืบต่อกันมากเป็นรุ่นๆ
    2. เกิดความสนุกสนาน สร้างความปองดองต่อสังคม สร้างความบันเทิงต่อบุคคลต่างๆ ทำให้เกิดความริเริ่มสร้างสรรค์ต่างๆ
    3.สร้างความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศ และเกิดความไมตรีต่อกัน แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมใหม่ๆต่างๆของแต่ละชนชาติ เกิดความสนุกสาน ปองดองสามัคคี

    ตอบลบ
  52. นส.ภัทราวดี วงค์คำปวง ม.6/1
    คำถามชุดที่ 1
    ข้อ 1 : เพราะการนำดนตรีมาใช้ประกอบพิธีกรรมเกิดจาดความเชื่อของแต่ละศาสนา เพื่อให้เกิดความศักดิ์สิทธิ์ต่อการทำพิธีกรรมและให้สิ่งที่ศักดิ์สิทธิเกิดความพอใจ และทำให้เกิดความเชื่อพิธีกรรมนั้นๆหรือการใช้ดนตรีประกอบพิธีกรรมเพื่อให้งานเกิดความรื่นเริง สนุกสนาน
    ข้อ 2 : ทำให้เกิดความสนุกสนานภายในสังคมดนตรี... ทำให้โลกมี "เสียงเพลง" และ "สีสัน" รวมถึง "ความรู้สึก"เป็นสิ่งที่เชื่อมโยงมนุษย์โลกได้อีกอย่างเสียงเพลงยังสร้างเสียงหัวเราะ สร้างมิตรไมตรี เรามีความสุขเขาก็เอาดนตรีมากล่อม คนทุกข์ก็คลายทุกข์เรียกว่าดนตรีสากลเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยเชื่อมิตรภาพในสังคม ความรู้สึก ที่ไม่ต้องถ่ายทอดทางภาษา อย่างเราฟังเพลงดนตรีเร็วๆ เราก็จะรับรู้ได้ถึงความสุข สนุก เพราะฉะนั้นดนตรีสากล สามารถถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึกได้ดี
    ข้อ 3 : การที่ดนตรีสากลเข้ามามีบทบาทต่อการเมืองการปกครองของไทยนั้น เพื่อแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมต่างชาติในสมัยต่างๆ และบางเพลงอาจจะเข้ามาเพื่อสื่อถึงสังคมของแต่ละประเทศที่มาแลกเปลี่ยนกันผ่านบทเพลง

    ตอบลบ
  53. น.ส ศิรประภา อินปา ม.6/1 เลขที่ 21
    1เพราะว่าดนตรีค่อยๆ มีบทบาท ในชีวิตมากขึ้น เพื่อสื่อสารทางด้านอารมณ์ เรามักถูกชักจูงด้วยดนตรี เป็นไปตาม " เนื้อเพลง " และยังมีแนวดนตรี บรรเลงอีกมากที่สามารถสื่อสารกับผู้ฟังได้และดนตรีสามารถสื่อความหมายถึงอารมณ์ความรู้สึก
    2ดนตรีสากลเป็นดนตรีที่ได้รับอิทธิพลมาจากตะวันตก ซึ่งเป็นแนวเพลงที่ทันสมัยมีจังหวะ ทำนองที่ตื่นเต้น น่าฟัง ทำมห้รู้สึกสนุกสนาน และเป็นที่นิยมอย่างมากของคนในปัจจุบัน
    และเข้าถึงในเนื้อหาถึงเรื่องราวต่างๆได้
    3ในตอนที่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ดนตรีได้เข้ามามีบทบาทสำคัญในการตอบสนองต่อนโยบายการเมืองในยุคชาตินิยม ทางการเมืองการปกครองของประเทศไทยซึ่งได้รับอิทธิพลอย่างสูงจากกระเเสดนตรีสากล และได้มาจากการที่มีทหารชาวอังกฤษ2คน เข้ามาฝึกทหารในไทย เเละได้ใช้เพลงกอดเสฟเดอะควีน ในการฝึก จึงทำให้ทหารให้ไทยได้รับบทบาทด้านการปกครองต่อมา

    ตอบลบ
  54. นส. พัชร์จิรา ตุลาพันธุ์ ม.6/1 เลขที่5
    1.) ดนตรีได้เริ่มมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์มานานแล้ว เหตุผลหนึ่งที่ทำให้เกิดดนตรีขึ้น คือ การเกิดปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ฝนตก ฟ้าร้อง แผ่นดินไหว ฯลฯ ล้วนเป็นสิ่งที่มนุษย์ทุกชนชาติเกิดความกลัว โดยคิดไปว่าสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้เกิดจากสิ่งที่มองไม่เห็น หรือมีความเชื่อว่าเป็นจากการกระทำของภูตผีปีศาจ ฉะนั้น การที่จะทำให้ปรากฏการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น ให้หายไปก็สามารถทำได้โดยการบวงสรวง โดยการเต้นรำ การร้องเพลง เพื่อเป็นการอ้อนวอนต่อ
    เทพเจ้า หรือเป็นการตอบแทนในความปรานีและอีกนัยหนึ่งก็เพื่อ ทำให้เกิดความสบายใจของมนุษย์เรา
    2.)ความบันเทิงของแนวเพลงต่างๆ ส่วนนึงขึ้นเกิดจากกระแสนิบมของสังคม และความคิดชอบของคนในแต่ละรุ่น ฉันจึงคิดว่าดนตรีสากลจึงสามารถสร้างคว่มบันเทิงและทำให้คนจดจำได้มากกว่า
    3.)ดนตรีหรือบทเพลงนั้นถือได้ว่าเป็นภาษาแห่งอารมณ์ ซึ่งนักแต่งเพลงได้พยายามกระตุ้นออกมาเป็นเสียงเพลง มีทั้งที่จงใจกระตุ้นและที่เกิดจากประสบการณ์ของตนเองซึ่งเพลงเป็นสื่อกลางในการติดต่อ และการทำความเข้าใจกันระหว่างมนุษย์ที่เก่าแก่ที่สุด เพลงจึงเป็นภาษาหรือเครื่องมือที่สำคัญของมนุษย์ในการสื่อความคิดต่อกัน

    ตอบลบ
  55. ไม่ระบุชื่อ24 สิงหาคม 2557 เวลา 21:19

    น.ส.กานต์พิชชา แก้วปัญญา
    ชั้น ม.6/1 15

    1. ดนตรีประกอบพิธีกรรมหรือเพลงศาสนาเป็นดนตรีที่สืบเนื่องมาจากความเชื่อถือในลัทธิ
    ในขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆ ตลอดจนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายตามที่มนุษย์เผ่าพันธุ์ต่างๆ สมมติขึ้น และมีส่วนสำคัญที่ทำให้ศาสนารุ่งเรืองขึ้นเป็นลำดับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งศาสนาคริสต์

    2. ดนตรีได้เริ่มมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์มานานแล้วมนุษย์เราทุกคนเกิดมาล้วนแล้ว
    แต่มีความหวาดกลัวติดตัวมาทุกคน ซึ่งเป็นเหตุผลหนึ่งที่ทำให้เกิดดนตรีขึ้น กล่าวคือ การเกิดปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ฝนตก ฟ้าร้อง แผ่นดินไหว ฯลฯ
    ทุกวันนี้ทุกคนล้วนมีดนตรีของตัวเองทั้งนั้น ฟังเพลง ร้องเพลง ครายเครียดก็ฟังเพลงเพื่อให้ตัวเองสบายใจขึ้น ฯลฯ



    3. ในชีวิตประจำวันของคนไทยในยุคเศรษฐกิจและสังคมเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาในภาวะ ปัจจุบันนี้เป็นปัจจัยที่ทำให้ผู้คนเกิดความเครียด ความวิตกกังวลกับปัญหาต่างๆ ที่เข้ามารุมเร้าอย่างต่อเนื่อง บางคนหาทางออกของปัญหาได้บางคนไม่ได้และแก้ปัญหาโดยการคิดสั้น ซึ่งมีตัวอย่างมากมายในสังคมไทย แนวทางหนึ่งที่สามารถผ่อนคลายความเครียด ความวิตกกังวลได้คือการเปิดโอกาสให้กับ "ดนตรี" เข้ามามีส่วนร่วมในชีวิตประจำวันอย่างต่อเนื่อง มีผลต่อการเสริมสร้างสุขภาพกายและใจ ให้มีความสดชื่นแจ่มใส เบิกบาน เข้มแข็ง และมีกำลังใจในการต่อสู้กับอุปสรรคนานาประการอย่างมีสติ และสามารถดำรงชีวิตอย่างมีความสุข

    ตอบลบ
  56. นส. พัชร์จิรา ตุลาพันธุ์ ม.6/1 เลขที่5
    1.) ดนตรีได้เริ่มมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์มานานแล้ว เหตุผลหนึ่งที่ทำให้เกิดดนตรีขึ้น คือ การเกิดปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ฝนตก ฟ้าร้อง แผ่นดินไหว ฯลฯ ล้วนเป็นสิ่งที่มนุษย์ทุกชนชาติเกิดความกลัว โดยคิดไปว่าสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้เกิดจากสิ่งที่มองไม่เห็น หรือมีความเชื่อว่าเป็นจากการกระทำของภูตผีปีศาจ ฉะนั้น การที่จะทำให้ปรากฏการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น ให้หายไปก็สามารถทำได้โดยการบวงสรวง โดยการเต้นรำ การร้องเพลง เพื่อเป็นการอ้อนวอนต่อ
    เทพเจ้า หรือเป็นการตอบแทนในความปรานีและอีกนัยหนึ่งก็เพื่อ ทำให้เกิดความสบายใจของมนุษย์เรา
    2.)ความบันเทิงของแนวเพลงต่างๆ ส่วนนึงขึ้นเกิดจากกระแสนิบมของสังคม และความคิดชอบของคนในแต่ละรุ่น ฉันจึงคิดว่าดนตรีสากลจึงสามารถสร้างคว่มบันเทิงและทำให้คนจดจำได้มากกว่า
    3.)ดนตรีหรือบทเพลงนั้นถือได้ว่าเป็นภาษาแห่งอารมณ์ ซึ่งนักแต่งเพลงได้พยายามกระตุ้นออกมาเป็นเสียงเพลง มีทั้งที่จงใจกระตุ้นและที่เกิดจากประสบการณ์ของตนเองซึ่งเพลงเป็นสื่อกลางในการติดต่อ และการทำความเข้าใจกันระหว่างมนุษย์ที่เก่าแก่ที่สุด เพลงจึงเป็นภาษาหรือเครื่องมือที่สำคัญของมนุษย์ในการสื่อความคิดต่อกัน

    ตอบลบ
  57. น.ส. ปาวีณา อาตาเผ่า ม.6/1 เลขที่ 23
    คำถามชุดที่ 1
    1).ตอบ ประเทศไทยนั้นมีพีธีกรรมที่หลักหลาย ทั้งความเชื่อและการพีธีกรรมก็แตกต่างเช่นกัน แต่ก็มีส่วนที่คล้ายกันคือ มีดนตรีประกอบ ระหว่างพิธี ทำให้พิธีนั้นดู ศักดิ์สิทธิ์ น่าเชื่อถือมากขึ้น ยังมีความเชื่อที่สืบทอดจวกบรรพบุรุษ
    2).ตอบ ปัจจุบันคนเรามีการใช้ชีวิตที่เร่งรีบขึ้น จนไม่มีเวลาผ่อนคลายให้ตน ดนตรีจะทำให้เราผ่อนคลาย ช่วยชโลมใจ ให้เย็นลง เป็นเพื่อนในเวลาเหงา กระตุ้นให้รู้สึกคึกคักกล้าหาญในเวลาที่หวาดกลัวภัยแถมยังมีดนตรีหลายชนิดให้เลือก
    3). ตอบ ดนตรีสามารถเชื่อมไมตรีระหว่างประเทศไทย เอกอัครราชฑูตที่ประจำในแต่ละประเทศ มีการนำดนตรีไทยไปแสดงให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. นางสาวสุภัสสรา อัศวพิทักษ์คีรี ม6/1 เลขที่ 18
      1. ตอบ ค่านิยมในการนำดนตรีมาใช้ประกอบพิธีกรรมของคนไทยเกิดขึ้นมาจากความเชื้อต่างๆ ที่เห็นได้ชัดเลยคือทางศาสนา เช่น ขบวนแห่นาค ขนวนทอดกฐิน จะมีการใช้ดนรตรีประกอบพิธี นอกจากนี้ยังมี ขบวนขันหมาก และพิธีกรรมอีกมากหมายที่ใช้ดนตรีประกอบ ซึ่งทำให้รื่นเริง สนุกสนาน และเป็นเอกลักษณ์ของไทย แล้วยังเกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่และการดำรงชีวิตของคนไทยที่ทำให้เกิดตนตรีขึ้นมาใช้ในการประกอบพิธีต่างด้วย
      2.ตอบ ช่วยสร้างความรื่นเริง ความสนุกสนาน ผ่อนลายให้กับคนในสังคม
      3.ตอบ ดนตรีกับการเมืองไทยเป็นแนวคิดของการนำเอาดนตรีเข้าไปใช้กับการเมือง
      การศึกษาดนตรีเพื่อทำความเข้าใจชีวิตทางการเมือง เป็นกลวิธีในการสร้างสรรค์ทางสังคมในโลกยุคปัจจุบัน เป็นการเชื่อมพรมแดนของการสื่อสารระหว่างสุนทรียศาสตร์ให้เข้าหาสังคมศาสตร์และขยายขอบเขตทางสังคมศาสตร์ด้วยการศึกษาสังคม วัฒนธรรมและการเมือง ในฐานะ ที่เป็นการแสดงสดและสุนทรียรสเชิงมานุษยวิทยา

      ลบ
  58. คำถามชุดที่1
    นายเนติพัฒน์ จิระแสงเมืองมา ชั้น ม.6/2 เลขที่27

    1.ความเชื่อของมนุษย์
    2.ให้ความสนุกสนาน รื่นเริง
    3.เกิดจากการเเลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกันของชาวต่างชาติกับไทย

    ตอบลบ
  59. นายสิงห์โต ธรรมชาติภูคำ ม.6/2 เลขที่ 11

    1. เกิดจากความเชื่อของมนุษย์ และความเชื่อของประเพณีของแต่ล่ะถิ่น
    2. มีจังหวะที่ไม่เหมือนดนตรีไทยและมีทำนองที่ไพเราะ ฟังแล้วทำให้ผู้ฟังรู้สึกสบาย
    3.สร้างความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศ และเกิดความไมตรีต่อกัน แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมใหม่ๆต่างๆของแต่ละชนชาติ เกิดความสนุกสาน ปองดองสามัคคี

    ตอบลบ
  60. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  61. ไกรรวี ฟุ้งศิริทรัพย์ทวี ม6/2 เลขที่24 ข้อ1ความเชื่อ ข้อ2ทำให้ผ่อนคลาย ทำให้รุ้สึกดี ข้อ3เช่นการรับตำเเหน่งต่างๆ ในประเทศไทย

    ตอบลบ
  62. น.ส.มยุรา จริยภมรกุร ม.6/2 เลขที่13
    คำตอบชุด2
    ข้อ2.โดดเด่นทางด้านเปียโน

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. ข้อ1.อุปรากรเป็นดนตรีคลาสสิกตะวันตกมีความใกล้เคียงกับละครเวที

      ลบ
  63. นาย วัชรพล พัชรนันท ม.6/2 เลขที่ 30
    1.ดนตรีในอุปรากรเป็นสิ่งที่ทำให้อุปรากรมีชีวิตจิตใจ มักเริ่มด้วยบทโหมโรง (Overture) และดนตรีประกอบบทขับร้อง ทั้งดำเนินเรื่องและเจรจากันตลอดทั้งเรื่อง ดนตรีเป็นองค์ประกอบสำคัญ จนอุปรากรได้รับการยกย่องให้เป็นผลงานของคีตกวี (Composer) มากกว่าที่จะคิดถึงผู้ประพันธ์เนื้อเรื่อง
    2.เปียโน
    ไวโอลิน
    คลาริเน็ต
    เครื่องดุริยาง
    3.บรามส์แต่งซิมโฟนีบทแรกสำเร็จ ได้รับการขนานนามว่าเป็นซิมโฟนีบทที่ 10 ของเบโธเฟน ตามคำกล่าวของบือโลว์ จากนั้นก็มีงานประพันธ์สำหรับวงดุริยางค์ตามมาจำนวนมาก ซิมโฟนีอีกสามบท คอนแชร์โต้สำหรับไวโอลิน คอนแชร์โต้หมายเลขสองสำหรับเปียโน จนกระทั่งถึงผลงานเอกในช่วงบั้นปลายชีวิต นั่นก็คือบทเพลงสำหรับคลาริเน็ท

    ตอบลบ
  64. 1.ละครที่มีเพลงเป็นหลักสำคัญในการดำเนินเรื่องราว opera จึงเป็นผลรวมของศิลปะนานชนิดเข้าด้วยกัน ตั้งแต่วรรณกรรม คือบทร้อง เครื่องละคร การแสดง การเต้นรำ การร้องและการเล่นดนตรี ตลอดระยะเวลาร่วม400ปี ที่เกิดมีอุปรากรขึ้นมานั้นรูปแบบของ opera มีการเปลี่ยนแปลงพัฒนาอยู่เสมอ อุปรากรจึงมีหลายประเภท

    2.เล่นเปียโน

    3.

    4.โดดเด่นด้วยศาสตร์แห่งเคานเตอร์พ้อยท์และโพลีโฟนี ความงดงามของบทเพลงที่เขาประพันธ์อยู่ที่รูปแบบคลาสิกที่ถูกแต่งแต้มด้วยความถวิลหาของยุคโรแมนติก แต่ก็มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวสีสันทางดนตรีอันบรรเจิด ท่วงทำนองที่สร้างสรรค์ และจังหวะทำให้ประหลาดใจด้วยการสอดประสานกัน

    5.คือการนำเสียงดนตรีสูงต่ำ 12 เสียง มาเรียงต่อกันเป็นลำดับที่แน่นอน เป็นผู้นำด้านการเขียนทำนองเพลงที่มีความซับซ้อน ไม่มีบันไดเสียง เป็นงานดนตรีที่เล่นยากและฟังยาก

    6.

    ตอบลบ
  65. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  66. น.ส. ปางคูณ ไชยยารักษ์ ม.6/2 เลขที่18 ข้อสอบชุดที่2
    1.อุปรากรถือเป็นส่วนหนึ่งของดนตรีคลาสสิก ตะวันตก มีความใกล้เคียงกับละครเวทีในเรื่องฉาก การแสดง และเครื่องแต่งกาย
    2.เปียโน
    3. ครูดนตรีคนสำคัญของเขาได้แก่เอด๊วด มาร์กเซ็น ได้สอนเขาอย่างตั้งอกตั้งใจ ด้วยความหวังที่ว่าเขาจะกลายเป็นนักเปียโนเอกในอนาคต โดยได้สอนเทคนิคการเล่นของ บาค โมซาร์ท และเบโธเฟน

    ตอบลบ
  67. คำถามชุดที่ 2
    นายเนติพัฒน์ จิระแสงเมืองมา ชั้นม.6/2 เลขที่27

    1.เพราะการแสดงอุปรากรมีการนำศิลปะการแสดงต่างๆมารวมกัน
    2.เปียโน
    3.เพราะเป็นศิษย์รักของเบโธเฟน

    ตอบลบ
  68. นางสาว เพียงฤทัย พรายศรี ม.6/2 เลขที่ 19
    คำถามชุดที่ 1
    1. เกิดความเชื่อของมนุษย์ ประเพณีสืบต่อกันมา
    2. ผ่อนคลายความเครียด ให้ความสนุกสนาร เกิดความสามัคคีใน พ้องเพื่อน และให้พัฒนาการทางด้านสมอง 3. มีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมของไทยและต่างชาติ ในการแลกเปลี่ยนผลงาน

    ตอบลบ
  69. นายภาณุวิชญ์ ครุฑเผือก ม6/2 เลขที่14
    ตอบคำถามชุดที่1
    1 ความเชื่อทางศาสนา
    2 ความสนุกสนาน
    3 การเผยแพร่ของวัฒนธรรมของต่างประเทศ

    ตอบลบ
  70. >>นาย<< พิชัยภูษิต ศิริมังคลากกุล **ม.6/2** """เลขที่ 1 """

    ชุด ที่ 2

    ( 1 ) มันเข้ากันง่ายอุปรากรถือเป็นส่วนหนึ่งของดนตรีคลาสสิก ตะวันตก มีความใกล้เคียงกับละครเวทีในเรื่องฉาก การแสดง และเครื่องแต่งกาย

    ( 2 ) เปียโน

    ( 3 ) เล่นเก่งและรัก :p

    ตอบลบ
  71. นางสาว กรกนก เพลงศิลปวัฒนา ม.6/2 เลขที่ 3
    ตอบคำถามชุดที่2
    1)เป็นศิลปะการแสดงบนเวทีชนิดหนึ่ง โดยมีลักษณะเป็นแบบละครที่ดำเนินเรื่องโดยใช้ดนตรีเป็นหลักหรือทั้งหมด อุปรากรถือเป็นส่วนหนึ่งของดนตรีคลาสสิก ตะวันตก มีความใกล้เคียงกับละครเวทีในเรื่องฉาก การแสดง และเครื่องแต่งกาย แต่สิ่งสำคัญที่แยกอุปรากรออกจากละครเวทีทั่วไป คือ ความสำคัญของเพลง ดนตรีที่ประกอบการร้อง ซึ่งอาจมีตั้งแต่วงดนตรีขนาดเล็กจนไปถึงวงออร์เคสตราขนาดใหญ่
    2) เปียโน
    3) เพราะเขาได้เดินทางกลับสู่นครเวียนนา ชื่อเสียงในฐานะนักดนตรีของเขาเพิ่มขึ้น และได้รับการยกย่องให้เป็น ทายาทดนตรีของเบโธเฟน เพลงสวดเรเควียมของเขาเป็นเครื่องพิสูจน์คำกล่าวนั้นได้เป็นอย่างดี

    ตอบลบ
  72. นาย สิงหืโต ธรรมชาติภูคำ ม.6/2 เลขที่ 11
    { ตอนที่2 }
    1.เพราะ อุปรากร เป็นศิลปะการแสดงบนเวทีชนิดหนึ่ง โดยมีลักษณะเป็นแบบละครที่ดำเนินเรื่องโดยใช้ดนตรีเป็นหลักหรือทั้งหมด อุปรากรถือเป็นส่วนหนึ่งของดนตรีคลาสสิก ตะวันตก มีความใกล้เคียงกับละครเวทีในเรื่องฉาก การแสดง และเครื่องแต่งกาย แต่สิ่งสำคัญที่แยกอุปรากรออกจากละครเวทีทั่วไป คือ ความสำคัญของเพลง ดนตรีที่ประกอบการร้อง
    2.เปียโน
    3.บรามส์แต่งซิมโฟนีบทแรกสำเร็จ ได้รับการขนานนามว่าเป็นซิมโฟนีบทที่ 10 ของเบโธเฟน

    ตอบลบ
  73. นายพุฒิพงศ์. ฉิมปุ่น ม6/2. เลขที่22. ข้อ1สิ่งหนึ่งที่อยู่คู่กับมนุษย์มานานจนกลายเป็นวัฒนธรรมของแต่ ละเชื้อชาติ สิ่งนั้นก็คือ 'ดนตรี' มีการประพันธ์บทเพลง เพื่อบอกเล่าเรื่องราวต่างๆ และนำเครื่องดนตรีมาบรรเลงเพื่อความไพเราะ ดนตรีจึงกลายเป็นส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์ ปัจจุบันมีการนำดนตรีมาใช้บำบัดโรค หลายคนจึงตั้งข้อสงสัยว่าแท้จริงแล้วดนตรีสามารถบำบัดโรคได้หรือไม่. ข้อ2ทําให้คนทุกๆๆคนมีความรู้สึกฟังเพลงสากลทําให้รู้สึกสบายยยมีความสวยงามอยู่ในเพลงนั้นๆๆ. ข้อ3ดนตรีเปรียบเสมือนเป็นพื้นฐานของสังคม ซึ่งมันสามารถอธิบายถึงปรากฏการณ์ทาง
    สังคมการเมืองและวัฒนธรรมได้ บางครั้งสังคมอาจไม่ได้มีความสัมพันธ์ที่ลงไปสู่ดนตรีโดยตรงทั้งหมด แต่ดนตรีมักถูกใส่ลงไปในสังคมเพื่อสร้างพลังบางอย่างให้กับกลุ่มชนต่าง ๆ ทั้งนี้เพื่อสร้างความสำเหนียก (perceive) ให้เกิดขึ้น กล่าวได้ว่าสังคมนั้นมีส่วนที่ทำให้เราเข้าใจดนตรีมากขึ้น ทำให้เรารำลึกถึงมุมมองเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต เช่น มุมมองของความสำเร็จ มุมมองของข้อผิดพลาด หรือมุมมองของข้อผิดพลาดที่ลึกซึ้ง และอื่น ๆ เป็นต้น
    ดนตรีหรือบทเพลงคือการบันทึกภาพทางประวัติศาสตร์ที่สามารถสะท้อนเหตุการณ์สำคัญต่าง ๆทางสังคม หรือสะท้อนแนวคิดอุดมการณ์ในแต่ละยุคสมัยอย่างต่อเนื่อง เช่น การนำเอาดนตรีและบทเพลงมาใช้เพื่อเป็นสื่ออำนาจของกลุ่มชนในการต่อสู้เพื่อแย่งชิงพื้นที่ทางสังคมวัฒนธรรม ในที่นี้หมายถึงดนตรีที่นำไปใช้กับการเมือง ซึ่งเป็นมุมมองทางดนตรีที่ทำหน้าที่ต่อสังคมและการเมือง ทั้งนี้สิ่งที่เกิดขึ้นถ้านำมาวิเคราะห์ลงไปอย่างลึกซึ้งก็จะพบถึงวิธีคิด สาระ ตลอดจนภาพสะท้อนต่าง ๆ ในสังคมที่มีการเชื่อมโยงมิติสัมพันธ์หลาย ๆ ด้าน บางครั้งทำให้เราสามารถนำกลับมาทบทวนและกำหนดแนวคิดเชิงปรัชญาทางดนตรีใหม่เพื่อนำมาใช้กับการเมืองไทยได้

    ตอบลบ
  74. นาย.ปิยพันธ์ โตบันลือภพ ชั้น ม.6/2 เลขที่ 23
    ตอบคำถามชุดที่1
    1) ความเชื่อประเพณีวัฒนธรรมและพิธีกรรม
    2)เพื่อความเพลิดเพลิน ความบันเทิง ความสนุกสนาน
    3)สร้างความสัมพันธ์ระหว่างประเทศแลกเปลี่ยวัฒนธรรมระหว่างประเทศ

    ตอบลบ
  75. นาย เสฏฐวุฒิ ถิ่นจันทรฉาย ม6/2 เลขที่ 7
    คำถามชุดที่ 2
    1.อุปรากรถือเป็นส่วนหนึ่งของดนตรีคลาสสิก ตะวันตก มีความใกล้เคียงกับละครเวทีในเรื่องฉาก การแสดง และ การร้อง
    2.เปียโน
    3. ครูดนตรีคนสำคัญของเขาได้แก่เอด๊วด มาร์กเซ็น ได้สอนเขาอย่างตั้งอกตั้งใจ ด้วยความหวังที่ว่าเขาจะกลายเป็นนักเปียโนเอกในอนาคต โดยได้สอนเทคนิคการเล่นของ บาค โมซาร์ท และเบโธเฟน

    ตอบลบ
  76. คำถามชุดที่2
    น.ส. อธิชา วรรณประเวศ ม.6/2 เลขที่21

    1.อุปรากรถือเป็นส่วนหนึ่งของดนตรีคลาสสิกตะวันตกมีความใกล้เคียงกับละครเวทีในการแสดงและเครื่องแต่งกายแต่สิ่งสำคัญที่แยกอุปรากรออกจากละครเวทีทั่วไปคือความสำคัญของเพลง

    2.โยฮันเนส บรามส์ เป็นผู้ที่มีความสามารถในการเล่นเปียโนทำให้เขาได้เป็นนักดนตรีอาชีพครั้งแรกที่ผับแห่งหนึ่งในนครธัมบูร์ก

    3.เพราะเป็นศิษย์รักของเบโธเฟนซึ่งเป็นที่จดจำของบรามส์ไปตลอดโดยมิได้ทำลายพรสวรรค์ทางการสร้างสรรค์ของศิษย์

    ตอบลบ
  77. น.ส จิราภรณ์ มังคะละ ม.6/2 เลทที่20
    ตอบคำถามชุดที่2
    1. เพราะว่า เป็นแบบละครที่ดำเนินเรื่องโดยใช้ดนตรีเป็นหลักหรือทั้งหมด อุปรากรถือเป็นส่วนหนึ่งของดนตรีคลาสสิกตะวันตก มีควาทใกล้เคียงกับละครเวทีในเรื่องฉากการแสดงและการแต่งกายเป็นสิ่งสำคัญที่แยกอุปรากรออกจากละครเวทีทั่วไป
    2.เป็นนักเล่น"ดับเบิลเบส"
    3.เพราะว่า บรามส์ แต่งซิมโฟนีบทแรกสำเร็จ ได้รับการขนานนามว่าเป็น "ซิมโฟนี" บทที่ 10 ของเบโทเฟน ตามคำกล่าวของบือโลว์ จากนั้นก็มีงานประพันธ์สำหรับดุริยางค์ตามมาจำนวนมาก

    ตอบลบ
  78. คำถามชุดที่ 1
    นาย พงศธร อินทรโชติ ม.6/2 เลขที่ 15
    ตอบ1 ความเชื่อของมนุษย์ และความเชื่อของประเพณีวัฒนธรรมของแต่ล่ะถิ่น
    ตอบ2 ช่วยสร้างความสุข ความสบายใจ และความบันเทิงแก่จิตใจ ช่วยสร้างความรื่นเริง ความสนุกสนาน ช่วยสร้างแรงบรรดาลใจให้แก่ผู้คนที่จะสร้างผลงานด้นดนตรี
    ตอบ3 สร้างความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศ และเกิดความไมตรีต่อกัน แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมใหม่ๆต่างๆของแต่ละชนชาติ มีผลต่อการเสริมสร้างสุขภาพกายและใจ ให้มีความสดชื่นแจ่มใส เบิกบาน เข้มแข็ง

    ตอบลบ
  79. น.ส เวธกา วนชยางค์กูล ม.6/2 เลขที่.6
    ตอบ 1.เป็นศิลปะการแสดงบนเวทีชนิดหนึ่ง โดยมีลักษณะเป็นแบบละครที่ดำเนินเรื่องโดยใช้ดนตรีเป็นหลักหรือทั้งหมด อุปรากรถือเป็นส่วนหนึ่งของดนตรีคลาสสิก ตะวันตก มีความใกล้เคียงกับละครเวทีในเรื่องฉาก การแสดง และเครื่องแต่งกาย แต่สิ่งสำคัญที่แยกอุปรากรออกจากละครเวทีทั่วไป คือ ความสำคัญของเพลง ดนตรีที่ประกอบการร้อง ซึ่งอาจมีตั้งแต่วงดนตรีขนาดเล็กจนไปถึงวงออร์เคสตราขนาดใหญ่
    2.เปียโน
    3.เพราะเป็นศิษย์รักของเบโธเฟน

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. (ต่อ)
      ตอบ. 4.ความงดงามของบทเพลงที่เขาประพันธ์อยู่ที่รูปแบบคลาสสิกที่ถูกแต่งแต้มด้วยความถวิลหาของยุคโรแมนติก แต่ก็มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว สีสันทางดนตรีอันบรรเจิด ท่วงทำนองที่สร้างสรรค์
      5.สไตล์การแต่งเพลงของโชนเบิร์กเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวโดยเขาได้ริเริ่มคิดการแต่งเพลงโดยใช้แนวคิดใหม่คือใช้ระบบทเว็ลฟ-โทน (Twelve Tone System) คือ การนำเสียงสูง – ต่ำทั้งหมด 12 เสียง
      6.นอกจากผลงานด้านดนตรีแล้วโชนเบิร์กยังมีผลงานเขียนด้วย ได้แก่ “ทฤษฎีแห่งเสียงประสาน” (Harmonielehre) ในปี 1911 ซึ่งได้รับการแปลเป็นภาษาอังกฤษ (Theory of Harmony) ในปี 1947 และยังเป็นอาจารย์สอนการประพันธ์ดนตรีในโรงเรียนและมหาวิทยาลัยหลาย ๆ แห่งถือว่ามีคุณค่าต่อวงการดนตรีต่อๆมา
      7.เป็นผู้นำด้านการเขียนทำนองเพลงที่มีความซับซ้อน ไม่มีบันไดเสียง (Atonal) เป็นงานดนตรีที่เล่นยาก และฟังยาก
      8.ซิมโฟนีหมายเลข 6 ซิมโฟนีนี้รู้จักกันในนาม Pathetique โอปุส 74 เป็นชิ้นสุดท้ายของไชคอฟสกี้และดูจะดีที่สุด แต่งในปี 1893 ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์จนถึงปลายเดือนสิงหาคมปีเดียวกัน เล่นครั้งแรกในวันที่ 28 ตุลาคม ปีเดียวกัน (1893) ซึ่งเป็นแค่ 9 วัน ก่อนเขาเสียชีวิต และเล่นครั้งต่อมาก็เพื่อระลึกถึงการเสียชีวิตของเขา
      9.ผลงานส่วนใหญ่เป็นประเภทซิมโฟนีและคอนแชร์โต
      10.คอนแชร์โตสำหรับเปียโน และไวโอลิน และสตริงควอเทท
      โอเวอร์เชอร์คือ รวมเอาองค์ประกอบต่าง ๆ ของดนตรีไว้

      ลบ
  80. นาย ธนภูมิ ปัญญดี ม. 6/1 เลขที่ 22
    คำถามชุดที่ 1

    1. เป็นเพราะความเชื่อในการประกอบพิธีกรรมที่มนุษย์มีความศรัทธาและมีความเชื่อ โดยนำดนตรีมาประกอบทางพิธีกรรม
    2. ช่วยสร้างความสุข ความสบายใจ และความบันเทิงแก่จิตใจ
    3. ดนตรีเปรียบเสมือนพื้นฐานทางสังคม ซึ่งมันสามารถอธิบายถึงปรากฏการณ์สังคมการเมืองได้ บางครั้งสังคมอาจไม่ได้มีความสัมพันธ์ที่ไม่ลงไปสู่ดนตรีโดยตรงทั้งหมดแต่ดนตรีมันถูกใส่ลงไปในสังคมเพื่อสร้างพลังบางอย่างอยู่ให้กับกลุ่มชนต่างๆ

    ตอบลบ
  81. ตอบคำถามชุดที่ 2
    ภัทราวดี วงค์คำปวง ม.6/1
    1. อุปรากร ( Opera ) คือละครที่มีเพลงและดนตรีเป็นหลักสำคัญในการดำเนินเรื่องราว Opera จึงเป็นผลรวมของศิลปะนานาชนิดเข้าด้วยกัน ตั้งแต่วรรณกรรม คือบทเร้อง เครื่องละคร การแส การเต้นรำ การร้องและการเล่นดนตรี
    2. ความสามารถทางด้านการเล่นเปียโน
    3. เพราะเขาได้รับแต่งตั้งให้เป็นหัวหน้าคณะนักร้องประสานเสียงประจำวังของเจ้าชายแห่งเด็ตโมลด์ ในช่วงเวลานี้เองที่เขาได้ประพันธ์เซเรเนดสำหรับวงดุริยางค์ขึ้นสองบท และคอนแชร์โต้สำหรับเปียโนชื้นแรก ปีพ.ศ. 2405 (ค.ศ. 1862) เขาได้เดินทางกลับสู่นครเวียนนา ชื่อเสียงในฐานะนักดนตรีของเขาเพิ่มขึ้น และได้รับการยกย่องให้เป็น ทายาทดนตรีของเบโธเฟน เพลงสวดเรเควียมของเขาเป็นเครื่องพิสูจน์คำกล่าวนั้นได้เป็นอย่างดี
    4. ความงดงามของบทเพลงที่เขาประพันธ์อยู่ที่รูปแบบคลาสสิกที่ถูกแต่งแต้มด้วยความถวิลหาของยุคโรแมนติก แต่ก็มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว สีสันทางดนตรีอันบรรเจิด ท่วงทำนองที่สร้างสรรค์ และจังหวะทำให้ประหลาดใจด้วยการสอดประสานกัน
    5. สไตล์การแต่งเพลงของโชนเบิร์กเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวโดยเขาได้ริเริ่มคิดการแต่งเพลงโดยใช้แนวคิดใหม่คือใช้ระบบทเว็ลฟ-โทน (Twelve Tone System) คือ การนำเสียงสูง – ต่ำทั้งหมด 12 เสียง มาเรียงกันเป็นลำดับที่แน่นอนโดยหลีกเลี่ยงไม่ให้มีเสียงหลัก (Tonic) ซึ่งหลักสำคัญคือ ทฤษฏีที่ว่าด้วยเสรีภาพของเสียง และความสำคัญเท่าเทียมกันของเสียงทุกเสียง
    6. นอกจากผลงานด้านดนตรีแล้วโชนเบิร์กยังมีผลงานเขียนด้วย ได้แก่ “ทฤษฎีแห่งเสียงประสาน” (Harmonielehre) ในปี 1911 ซึ่งได้รับการแปลเป็นภาษาอังกฤษ (Theory of Harmony) ในปี 1947 และยังเป็นอาจารย์สอนการประพันธ์ดนตรีในโรงเรียนและมหาวิทยาลัยหลาย ๆ แห่งถือว่ามีคุณค่าต่อวงการดนตรีต่อๆมา
    7. เป็นผู้นำด้านการเขียนทำนองเพลงที่มีความซับซ้อน ไม่มีบันไดเสียง (Atonal) เป็นงานดนตรีที่เล่นยาก และฟังยาก ผลงานของเขาจึงถูกปฏิเสธที่จะนำออกแสดงจากผู้กำกับวงและนักดนตรีอยู่เสมอ การประพันธ์ของเขามีความแตกต่างไปจากดนตรียุคคลาสสิกในยุคก่อนหน้านั้นเป็นอย่างมาก
    8. ไชคอฟสกี้ นักประพันธ์ชาวรัสเซีย ผู้สร้างสรรค์ผลงานอมตะที่ถูกนำไปประกอบภาพยนตร์ ละคร หรือถูกไปแสดงอย่างกว้างขวางในสื่อรูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ภาพยนตร์ ละคร หรือแม้แต่เสียงเรียกเข้ามือถือ ไม่ว่าจะเป็น Swan Lake, The Nutcracker, เจ้าหญิงนิทรา, Romeo and Juliet, 1812 Overture และ Piano Concerto No.1 อย่างแน่นอน ซึ่งเป็นผลงานที่แสดงออกถึงความอัจฉริยะในการสร้างสรรค์ผลงานต่างๆ
    9. ผลงานส่วนใหญ่เป็นประเภทซิมโฟนีและคอนแชร์โต
    10. คอนแชร์โตสำหรับเปียโน และไวโอลิน และสตริงควอเทท
    โอเวอร์เชอร์คือ รวมเอาองค์ประกอบต่าง ๆ ของดนตรีไว้

    ตอบลบ
  82. น.ส. ปิยะบุษ เพ็ชรรัตน์ ม.6/1 เลขที่ 10
    ตอบคำถามชุดที่ 2
    1.เพราะอุปรากร คือ ละครเพลง และมีดนตรีเป็นหลักสำคัญในการดำเนินเรื่องราว จึงกล่าวได้ว่าเป็นการผสมรวมระหว่างศิลปะนานาชนิดตั้งแต่วรรณกรรม บทร้อง เครื่องละคร การแสดง การเต้นรำ การร้อง และการเล่นดนตรี
    2.เครื่องดีดอันได้แก่ “เปียโน”
    3.ระหว่างปี พ.ศ. 2400 (ค.ศ. 1857) ถึง พ.ศ. 2402 (ค.ศ. 1859) เขาได้รับแต่งตั้งให้เป็นหัวหน้าคณะนักร้องประสานเสียงประจำวังของเจ้าชายแห่งเด็ตโมลด์ ในช่วงเวลานี้เองที่เขาได้ประพันธ์เซเรเนดสำหรับวงดุริยางค์ขึ้นสองบท และคอนแชร์โต้สำหรับเปียโนชื้นแรก ปีพ.ศ. 2405 (ค.ศ. 1862) เขาได้เดินทางกลับสู่นครเวียนนา ชื่อเสียงในฐานะนักดนตรีของเขาเพิ่มขึ้น และได้รับการยกย่องให้เป็น ทายาทดนตรีของเบโธเฟน เพลงสวดเรเควียมของเขาเป็นเครื่องพิสูจน์คำกล่าวนั้นได้เป็นอย่างดี
    4.งานของบราห์มได้รับอิทธิพลหลากหลาย โดดเด่นด้วยศาสตร์แห่งconterpoint และ โพลีโฟนี ความงดงามของบทเพลงที่เขาประพันธ์อยู่ที่รู)แบบคลาสสิกที่ถูกแต่งแต้มด้วยความถวิลหาของยุคโรแมนติก แต่ก็มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว สีสันทางดนตรีอันบรรเจิด ท่วงทำนองที่สร้างสรรค์ และจังหวะทำให้ประหลาดใจด้วยการสอดประสานกัน
    5.สไตล์การแต่งเพลงของโชนเบิร์กเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวโดยเขาได้ริเริ่มคิดการแต่งเพลงโดยใช้แนวคิดใหม่คือใช้ระบบทเว็ลฟ-โทน (Twelve Tone System) คือ การนำเสียงสูง – ต่ำทั้งหมด 12 เสียง มาเรียงกันเป็นลำดับที่แน่นอนโดยหลีกเลี่ยงไม่ให้มีเสียงหลัก (Tonic) ซึ่งหลักสำคัญคือ ทฤษฏีที่ว่าด้วยเสรีภาพของเสียง และความสำคัญเท่าเทียมกันของเสียงทุกเสียงในดนตรี (The Freedom of Musical Sound : The Atonality) อันเป็นจุดเริ่มต้น และเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งของดนตรี “เซียเรียล มิวสิก” (Serial Music) ซึ่งพัฒนาความคิดรวบยอดของมนุษย์ในปรัชญาดนตรีแห่งศตวรรษที่ 20 ให้ก้าวไกลควบคู่ไปกับวิทยาการสมัยใหม่
    โชนเบิร์กใช้ “ระบบทเว็ลฟ - โทน” ในผลงานหมายเลขสุดท้ายของ Five Pieces for Piano ในปี 1923 และในท่อนที่ 4 ของ Serenade ในปีเดียวกัน ผลงานการประพันธ์ชิ้นแรกของโชนเบิร์กที่สร้างขึ้นด้วย “ระบบทเว็ลฟ - โทน” โดยตลอดคือ Suite for Piano ในปี 1924 ระบบ “ระบบทเว็ลฟโทน” กลายเป็นเครื่องมือ การทำงานของโชนเบิร์กที่เขาใช้ด้วยความชำนาญอย่างน่าพิศวงและไม่ซ้ำซากจำเจ นอกจากประสบความสำเร็จในด้านการต้อนรับของผู้ฟัง แล้วยังก่อให้เกิดประโยชน์การนำไปสู่แนวคิดความเข้าใจเรื่องดนตรีซึ่งแตกต่างไปจากเดิมที่ยึดถือกันมากว่า 300 ปี

    ตอบลบ
  83. น.ส. ปิยะบุษ เพ็ชรรัตน์ ม.6/1 เลขที่ 10
    ตอบคำถามชุดที่ 2 (ต่อ)
    6.นอกจากผลงานด้านดนตรีแล้วโชนเบิร์กยังมีผลงานเขียนด้วย ได้แก่ “ทฤษฎีแห่งเสียงประสาน” (Harmonielehre) ในปี 1911 ซึ่งได้รับการแปลเป็นภาษาอังกฤษ (Theory of Harmony) ในปี 1947 และยังเป็นอาจารย์สอนการประพันธ์ดนตรีในโรงเรียนและมหาวิทยาลัยหลาย ๆ แห่งถือว่ามีคุณค่าต่อวงการดนตรีต่อ ๆ มา
    7.เป็นคีตกวีหนึ่งในสองคนที่ปฏิวัติแนวคิดทางดนตรีของคริสต์ศตวรรษที่ 20 อย่างสำคัญ คือการใช้ระบบทเว็ลฟ-โทน (Twelve Tone System)อันเป็นจุดเริ่มต้น และเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งของดนตรี “เซียเรียล มิวสิก” (Serial Music) ซึ่งพัฒนาความคิดรวบยอดของมนุษย์ในปรัชญาดนตรีแห่งศตวรรษที่ 20 ให้ก้าวไกลควบคู่ไปกับวิทยาการสมัยใหม่
    8.ซิมโฟนีหมายเลข 6 ซิมโฟนีนี้รู้จักกันในนาม Pathetique โอปุส 74 เป็นชิ้นสุดท้ายของไชคอฟสกี้และดูจะดีที่สุด แต่งในปี 1893 ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์จนถึงปลายเดือนสิงหาคมปีเดียวกัน เล่นครั้งแรกในวันที่ 28 ตุลาคม ปีเดียวกัน (1893) ซึ่งเป็นแค่ 9 วัน ก่อนเขาเสียชีวิต และเล่นครั้งต่อมาก็เพื่อระลึกถึงการเสียชีวิตของเขา ซิมโฟนีที่ว่านี้ แต่งขึ้นที่บ้านหลังเล็กๆ ที่เมืองคลิน แต่เมื่อเล่นรอบทดลอง นักดนตรีในวงดูจะไม่ค่อยประทับใจกับซิมโฟนีเบอร์นี้เท่าใดนัก ในภาษารัสเซีย ชื่อซิมโฟนีหมายเลข 6 คือ Pateticskaja มีความหมายว่า “เต็มไปด้วยอารมณ์ แต่ไชคอฟสกี้เห็นว่ามันเป็นโปรแกรมซิมโฟนี
    9.ผลงานส่วนใหญ่เป็นเพลงโหมโรง เช่น เดอะ สตรอม, โอปุสที่ 76 พ.ศ. 2407 (ค.ศ. 1864) เพลงโหมโรงในบันไดเสียง เอฟเมเจอร์ (พ.ศ. 2408 แก้ไขเมื่อปี พ.ศ. 2409) เพลงโหมโรง ถอดทำนองจากเพลงชาติเดนมาร์ก โอปุสที่ 15 (ค.ศ. 1866 แก้ไขเมื่อปีค.ศ. 1892) ฟาตัม โอปุสที่ 77 (ค.ศ. 1868) โรมิโอกับจูเลียต (ค.ศ. 1869 แก้ไขเมื่อปี ค.ศ. 1870, 1880) เป็นต้น
    10. 1812 โอเวอร์เชอร์ (อังกฤษ: 1812 Overture) เป็นโอเวอร์เชอร์ที่แต่งโดยปีเตอร์ อิลิช ไชคอฟสกี ในปี ค.ศ. 1880 เพื่อรำลึกถึงวีรกรรมของทหารรัสเซียในการป้องกันมอสโกจากการรุกรานของกองทัพฝรั่งเศส นำโดยนโปเลียน โบนาปาร์ต โดยเฉพาะในยุทธการโบโรดิโน เป็นส่วนหนึ่งของการรุกรานรัสเซียของฝรั่งเศสในปี ค.ศ. 1812 โอเวอร์เชอร์ชิ้นนี้เป็นที่ชื่นชมในการแสดงประกอบฉากอันน่าตื่นตาตื่นใจ โดยเฉพาะการแสดงการยิงปืนใหญ่ ต่อมาในปี ค.ศ. 1891 ถูกนำไปแสดงในสหรัฐอเมริกา ก็ได้รับความนิยม เนื่องจากปี ค.ศ. 1812 ก็สอดคล้องกับการรบระหว่างสหรัฐอเมริกากับจักรวรรดิอังกฤษ (ค.ศ. 1812-1815) โอเวอร์เชอร์ชิ้นนี้จึงนิยมนำไปบรรเลงในวันชาติสหรัฐอเมริกา วันที่ 4 กรกฎาคมของทุกปี
    Concerto No.1 for Piano and Orchestra in B-Flat Minor Opus. 23 เปียโนคอนแชร์โต้ ในบันไดเสียง บี-แฟลทไมเนอร์ โอปุสที่ 23 บทนี้ เขียนขึ้นในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงธันวาคมปี 1874 เรียบเรียงเสียงประสานเสร็จสมบูรณ์เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ปี 1875 เปียโนคอนแชร์โตบทนี้และบทโหมโรงแฟนตาซีโอเวอร์เจอร์ (Fantasy overture) Romeo and Juliet นั้น ได้รับการยอมรับว่าเป็นผลงานที่สำคัญลำดับต้นๆ ของเขาเลยทีเดียว เพราะว่าตัวเขานั้นไม่ใช่นักเปียโนอาชีพแต่มีความกระตือรือร้นที่จะประพันธ์บทเพลงคอนแชร์โตให้ได้
    Concerto for Violin and Orchestra in D Major Opus. 35 ไวโอลินคอนแชร์โตบทนี้ได้นำออกแสดงต่อสาธารณชนเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 1881 เป็นเวลานานเกือบสี่ปีทีเดียวกว่าจะเสร็จสมบูรณ์ ผู้ที่เดี่ยวไวโอลินคือ Adolf Brodsky ร่วมกับวงเวียนนา ฟิลฮาร์โมนิค ภายใต้การอำนวยเพลงของ Hans Richter ซึ่งไชคอฟสกี้ได้อุทิศบทเพลงนี้ให้กับ Brodsky แทน Eduard Hanslick ได้กล่าวโจมตีบทเพลงนี้อย่างเสียหาย เขากล่าวว่า สิ่งแรกที่เรานึกถึงไวโอลินคอนแชร์โต้ของไชคอฟสกี้คือ ความน่าสยดสยองของดนตรีที่สกปรกและน่ารังเกียจในโสตประสาทยิ่งนัก" อย่างไรก็ตามเวลาได้พิสูจน์แล้วว่าความคิดของ Hanslick นั้นผิดมหันต์ ไวโอลินคอนแช์โต้ของไชคอฟสกี้ได้ผ่านกาลเวลาอันยาวนานและได้พิสูจน์ตัวเองแล้วว่า เป็นบทเพลงที่ยอดเยี่ยมชิ้นหนึ่งของยุคโรแมนติคเลยทีเดียว

    ตอบลบ
  84. คำตอบชุดที่ 2
    นางสาว สุชาพิชญ์ ปลุกใจ ม.6/1เลขที่ 7

    1. เพราะเป็นละครเพลงและมีดนตรีเป็นหลักสำคัญในการดำเนินเรื่องราว จึงกล่าวได้ว่าเป็นการผสมรวมระหว่างศิลปะนานาชนิดตั้งแต่วรรณกรรม บทร้อง เครื่องละคร การแสดง การเต้นรำ การร้อง และการเล่นดนตรี โอเปร่าถือเป็นส่วนหนึ่งของดนตรีคลาสสิกตะวันตก จะว่าไปถ้าบอกให้เข้าใจง่าย
    2. เปียโน
    3. บรามส์ แต่งเพลงสวดเรเควียม
    4. โดดเด่นด้วยศาสตร์แห่ง คอนเสิตพ้อย และโพลิโพนี ประพันธ์ในรูปแบบคลาสิค แต่งแต้มด้วยความถวิล และโรแมนติก
    5. ทำนองเพลงที่มีความซับซ้อน ไม่มีบันไดเสียง (Atonal) เป็นงานดนตรีที่เล่นยาก และฟังยาก
    6. นอกจากผลงานด้านดนตรีแล้วโชนเบิร์กยังมีผลงานเขียนด้วย ได้แก่ “ทฤษฎีแห่งเสียงประสาน” (Harmonielehre) ในปี 1911 ซึ่งได้รับการแปลเป็นภาษาอังกฤษ (Theory of Harmony) ในปี 1947 และยังเป็นอาจารย์สอนการประพันธ์ดนตรีในโรงเรียนและมหาวิทยาลัยหลาย ๆ แห่งถือว่ามีคุณค่าต่อวงการดนตรีต่อๆมา
    7. เป็นผู้นำด้านการเขียนทำนองเพลงที่มีความซับซ้อน ไม่มีบันไดเสียง (Atonal) เป็นงานดนตรีที่เล่นยาก และฟังยาก ผลงานของเขาจึงถูกปฏิเสธที่จะนำออกแสดงจากผู้กำกับวงและนักดนตรีอยู่เสมอ การประพันธ์ของเขามีความแตกต่างไปจากดนตรียุคคลาสสิกในยุคก่อนหน้านั้นเป็นอย่างมาก
    8. ไชคอฟสกี้ นักประพันธ์ชาวรัสเซีย ผู้สร้างสรรค์ผลงานอมตะที่ถูกนำไปประกอบภาพยนตร์ ละคร หรือถูกไปแสดงอย่างกว้างขวางในสื่อรูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ภาพยนตร์ ละคร หรือแม้แต่เสียงเรียกเข้ามือถือ ไม่ว่าจะเป็น Swan Lake, The Nutcracker, เจ้าหญิงนิทรา, Romeo and Juliet, 1812 Overture และ Piano Concerto No.1 อย่างแน่นอน ซึ่งเป็นผลงานที่แสดงออกถึงความอัจฉริยะในการสร้างสรรค์ผลงานต่างๆ
    9. ผลงานส่วนใหญ่เป็นประเภทซิมโฟนีและคอนแชร์โต
    10. คอนแชร์โตสำหรับเปียโน และไวโอลิน และสตริงควอเทท
    โอเวอร์เชอร์คือ รวมเอาองค์ประกอบต่าง ๆ ของดนตรีไว้

    ตอบลบ
  85. น.ส. ชญานิศ กานต์อาสิญจ์ ม. 6/1 เลขที่ 12

    คำถาม ชุดที่ 2

    1. เพราะ อุปรากร ป็นศิลปะการแสดงบนเวทีชนิดหนึ่ง โดยมีลักษณะเป็นแบบละครที่ดำเนินเรื่องโดยใช้ดนตรีเป็นหลักหรือทั้งหมด อุปรากรถือเป็นส่วนหนึ่งของดนตรีคลาสสิกตะวันตก มีความใกล้เคียงกับละครเวทีในเรื่องฉาก การแสดง และเครื่องแต่งกาย แต่สิ่งสำคัญที่แยกอุปรากรออกจากละครเวทีทั่วไป คือ ความสำคัญของเพลง ดนตรีที่ประกอบการร้อง ซึ่งอาจมีตั้งแต่วงดนตรีขนาดเล็กจนไปถึงวงออร์เคสตราขนาดใหญ่
    2. ความสามารถทางการเล่นเปียโน
    3. การรประพันธ์ดนตรีของเขาก็เปลี่ยนไป เขาได้ประพันธ์ "เพลงสวดศพเรเควียม" ซึ่งท่อนที่สี่เป็นฟิวก์ห้าเสียง ที่ประพันธ์ขึ้นโดยใช้เทคนิคการสอดประสานกันของท่วงทำนองต่างๆ
    4. งานของบรามส์ได้รับอิทธิพลหลากหลาย โดดเด่นด้วยศาสตร์แห่งเคานเตอร์พ้อยท์ และ โพลีโฟนี ความงดงามของบทเพลงที่เขาประพันธ์อยู่ที่รูปแบบคลาสสิกที่ถูกแต่งแต้มด้วยความถวิลหาของยุคโรแมนติก แต่ก็มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว สีสันทางดนตรีอันบรรเจิด ท่วงทำนองที่สร้างสรรค์ และจังหวะทำให้ประหลาดใจด้วยการสอดประสานกัน
    5. เป็นผู้คิดค้นระบบ Twelve Tone System คือ การนำเสียงดนตรีสูงต่ำ 12 เสียง มาเรียงต่อกันเป็นลำดับที่แน่นอน เป็นผู้นำด้านการเขียนทำนองเพลงที่มีความซับซ้อน ไม่มีบันไดเสียง (Atonal) เป็นงานดนตรีที่เล่นยาก และฟังยาก ผลงานของเขาจึงถูกปฏิเสธที่จะนำออกแสดงจากผู้กำกับวงและนักดนตรีอยู่เสมอ การประพันธ์ของเขามีความแตกต่างไปจากดนตรียุคคลาสสิกในยุคก่อนหน้านั้นเป็นอย่างมาก
    6. บัลเล่ต์
    7. เสียงแห่งความเสมอภาคเท่าเทียม
    ดนตรีคลาสสิกในยุคศตวรรษที่ 20 มีการพัฒนาหลุดออกมาจากรูปแบบของดนตรีคลาสสิกในยุคอดีต หนึ่งในคีตกวีผู้สร้างรูปแบบใหม่ของดนตรีคลาสสิกขึ้นมา คือ Arnold Schoenberg ผู้ที่ตกอยู่ในสถานการณ์คล้ายๆ กับยุคของจิตกรรมแนว Impressionism ที่ถูกต่อต้านจากกลุ่ม Realism, เพลงของ Schoenberg ถูกสร้างจากทฤษฎีใหม่ที่เขาคิดขึ้น Twelve Tone System ระบบ 12 เสียง คือตัวโน๊ตทั้งหมดที่มีอยู่ โด เร มี ฟา ซอล ลา ที รวมกับครึ่งเสียงระหว่าง 7ตัวโน๊ตนี้ รวมเป็น 12 เสียง โดยทฤษฎีเดิมจะสร้างเพลงจากบันไดเสียง 7 เสียง และมี Key ของเพลงที่กำหนดให้เพลงอยู่ในระดับเสียงเดียวกัน แต่ Schoenberg ไม่ได้สร้างเพลงจากทฤษฎีแบบเดิม เขาสร้างเพลงจากทั้ง 12 เสียงเลยและไม่มี Key ของเพลงอย่างที่เคยทำกันมา ซึ่งในยุคนั้นถูกต่อต้านอย่างรุนแรงกว่าครั้งใดที่ผ่านมา เพราะแม้แต่คีตกวีด้วยกันเองก็ไม่อาจจะยอมรับได้ ถึงขั้นที่ผู้ชมแสดงอารมณ์ต่อต้านอย่างรุนแรงหลังจากที่ได้มีการแสดงดนตรีไป ถึงกระนั้นก็ตาม Schoenberg ยังมีผู้ที่ได้มาเป็นลูกศิษย์และได้สืบทอดแนวคิดใหม่นี้ Anton Webern คือคีตกวีอีกผู้หนึ่งที่สร้างสรรค์เพลงตามแนวทางของอาจารย์ ซึ่งเพลงตามแนวคิดนี้ถูกนำไปใช้ในภาพยนตร์แนวสยองขวัญ ที่เราได้ฟังกันเป็นปกติแล้วในปัจจุบัน
    8. สำหรับผลงานประเภทซิมโฟนีนั้น อาจกล่าวได้ว่าผลงานในช่วงต้นๆจะมีความสดใสและแสดงออกถึงชาตินิยมรัสเซีย (ซึ่งเป็นกระแสสำหรับนักประพันธ์รัสเซียในยุคนั้น) ทว่า ผลงานในช่วงหลัง เช่น ซิมโฟนีหมายเลขสี่และห้า กลับออกค่อยๆออกแนวมืดหม่นลง จนถึงขั้นหดหู่ เศร้าสร้อยและสิ้นหวัง อย่างที่สุดในซิมโฟนีหมายเลขหก ‘Pathetique’ซึ่งเป็นภาพสะท้อนสภาพจิตใจของเขาในช่วงบั้นปลายชีวิตนั่นเอง มีนักวิจารณ์หลายคนเชื่อว่าไชคอฟสกี้จงใจแต่งซิมโฟนีบทนี้ให้เป็นประหนึ่งเพลงสวดศพ หรือ requiem ของตนนั่นเอง โดยผลงานหมายเลขสี่ ห้า และหก มักถูกยกย่องว่าเป็นผลงานที่ทรงพลัง มีความเป็นตัวของตัวเองสูง และได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง
    9. ชคอฟสกี้ได้ประพันธ์ผลงานไว้หลายรูปแบบ โดยอาจกล่าวได้ว่าดนตรีประกอบบัลเลท์นั้นเป็นที่รู้จักของคนทั่วไปมากที่สุด
    10. Piano Concerto no.1 – ซึ่งได้รับการกล่าวขานว่าเป็นเพลงคอนแชร์โตที่มีชื่อเสียงที่สุดบทหนึ่งของโลก และยังมีการนำไปดัดแปลงใส่เนื้อร้องเพลงป๊อป คือ เพลง Tonight My Love
    1812 Overture – เป็นผลงานที่แต่งขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองชัยชนะที่รัสเซียมีต่อนโปเลียน มีความน่าสนใจตรงที่ ในผลงานชิ้นนี้ นอกจากไชคอฟสกี้จะใช้ทำนองโบราณของรัสเซีย (เช่น เพลงสรรเสริญพระบารมีของพระเจ้าซาร์ในสมัยก่อน) เข้ามาผสม ในช่วงท้ายบทเพลง ยังให้มีการยิงสลุตปืนใหญ่ 16 ตัว พร้อมๆไปกับการลั่นระฆังโบสถ์จำนวนมากพร้อมๆกัน เพื่อถ่ายทอดบรรยากาศเฉลิมฉลองในวาระดังกล่าว กล่าวกันว่า การแสดงสดกลางแจ้งที่มีการใช้อุปกรณ์จริงจึงสามารถสร้างความประทับใจอย่างไม่รู้ลืมให้แก่ผู้ฟัง ทว่า ตัวไชคอฟสกี้เองกลับไม่ชอบผลงานชิ้นนี้ของตนเท่าไหร่นัก

    ตอบลบ
  86. นางสาว จุฑามาศ วิรัชกุล ชั้นม.6/1 เลขที่ 6
    ตอบคำถามชุดที่ 2

    1. เป็นละครเพลงมีดนตรีเป็นหลักสำคัญในการดำเนินเรื่อง จึงเป็นการผสมรวมระหว่างศิลปะนานาชนิดตั้งแต่วรรณกรรม บทร้อง เครื่องละคร การแสดง การเต้นรำ และการเล่นดนตรี โอเปร่าถือเป็นส่วนหนึ่งของดนตรีคลาสสิกตะวันตก
    2. เปียโน
    3. บรามส์ แต่งเพลงสวดเรเควียม
    4. เด่นศาสตร์แห่งคอนเสิตพ้อย โพลิโพนี ประพันธ์ในรูปแบบคลาสิค
    5. ทำนองที่มีความซับซ้อน เป็นงานดนตรีที่เล่นยาก และฟังยาก
    6. ผลงานสำหรับวงออเคสตร้า อุปรากรและการแสดงบนเวที
    7. แต่งเพลงโดยใช้แนวคิดใหม่คือTwelve Tone System คือ การนำเสียงสูง ต่ำทั้งหมด 12 เสียง มาเรียงกันเป็นลำดับที่แน่นอนโดยไม่ให้มีเสียงหลัก
    8. แต่งเพลงจังหวะที่แตกต่าง ซิมโฟนีบทนี้มีดนตรีที่หดหู่ คล้ายกับว่าทราบชะตาของตัวเองอยู่แล้ว ถือเป็นบทสั่งลา
    9. แบบร่วมสมัย
    10. เป็นผลงานที่โรแมนติค นุ่มนวล และคอนแชร์โต มีลักษณะที่หดหู่สื่อถึงเรื่องรักร่วมเพศ

    ตอบลบ
  87. นางสาว นภสร กัว ม.6/1 เลขที่3
    คำถมชุดที่2
    1.เพราะการแสดอุปรากรเป็นเป็นการรวบรวมศิลปะแต่ละแขนงไว้ด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็น น้ำเสียงการพูด ลีลา การฟ้อนรำ ศิลปะการต่อสู้ และเสียงดนตรีประกอบฉาก
    2.ทุกประเภท แต่สนใจเปียโนเป็นพิเศษ
    3.บรามส์แต่งซิมโฟนีบทแรกของเค้า จนผู้คนขนานว่าเป็นซิมโฟนีบทที่10ของบีโธเฟน
    4.งานของบรามส์ได้รับอิทธิพลหลากหลาย โดดเด่นด้วยศาสตร์แห่งconterpoint และ โพลีโฟนี บทประพัทธ์ของเขาจะมีความงดงามอยู่ในรูปแบบคลาสสิกที่แต่แต้มไปด้วยความถวิลหาองยุคโรแมนติก แต่ก็มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว
    5.แต่งดนตรีในลักษณะทเว็ลฟ-โทน เป็นแนวซับซ้อน ฟังยาก ไม่รื่นหู
    6. 1.บัลเล่ต์
    2.ซิมโฟนี
    3. เพลงโหมโรง
    4. คอนแชร์โต้
    5. เชมเบอร์มิวสิก
    6. บทเพลงสำหรับเปียโน
    7. อุปรากร
    7. Twelve Tone System คือ การนำเสียงดนตรีสูงต่ำ 12 เสียง มาเรียงต่อกันเป็นลำดับที่แน่นอน เป็นผู้นำด้านการเขียนทำนองเพลงที่มีความซับซ้อน ไม่มีบันไดเสียง (Atonal) เป็นงานดนตรีที่เล่นยาก และฟังยาก ผลงานของเขาจึงถูกปฏิเสธที่จะนำออกแสดงจากผู้กำกับวงและนักดนตรีอยู่เสมอ
    9.การนำเสนอแบบร่วมสมัย
    10.ผลงานโอเวอร์เชอร์ เป็นผลงานที่โรแมนติค นุ่มนวล และคอนแชร์โต ของปีเตอร์ อีลิทช์ ไชคอฟสกี มีลักษณะที่หดหู่สื่อถึงเรื่องรักร่วมเพศ

    ตอบลบ
  88. นาย ศิริชัย อยู่สมบูรณ์ ม.6/1 เลขที่ 27 1. เพราะเป็นละครเพลงและมีดนตรีเป็นหลักสำคัญในการดำเนินเรื่องราว จึงกล่าวได้ว่าเป็นการผสมรวมระหว่างศิลปะนานาชนิดตั้งแต่วรรณกรรม บทร้อง เครื่องละคร การแสดง การเต้นรำ การร้อง และการเล่นดนตรี โอเปร่าถือเป็นส่วนหนึ่งของดนตรีคลาสสิกตะวันตก จะว่าไปถ้าบอกให้เข้าใจง่าย
    2. เปียโน
    3. บรามส์ แต่งเพลงสวดเรเควียม
    4. โดดเด่นด้วยศาสตร์แห่ง คอนเสิตพ้อย และโพลิโพนี ประพันธ์ในรูปแบบคลาสิค แต่งแต้มด้วยความถวิล และโรแมนติก
    5. ทำนองเพลงที่มีความซับซ้อน ไม่มีบันไดเสียง (Atonal) เป็นงานดนตรีที่เล่นยาก และฟังยาก
    6. ผลงานสำหรับวงออเคสตร้า บทเพลงขับร้องประสานเสียง อุปรากรและการแสดงบนเวที งานสำหรับเดี่ยวเปียโน
    7. การแต่งเพลงโดยใช้แนวคิดใหม่คือใช้ระบบทเว็ลฟ-โทน (Twelve Tone System) คือ การนำเสียงสูง – ต่ำทั้งหมด 12 เสียง มาเรียงกันเป็นลำดับที่แน่นอนโดยหลีกเลี่ยงไม่ให้มีเสียงหลัก (Tonic) ซึ่งหลักสำคัญคือ ทฤษฏีที่ว่าด้วยเสรีภาพของเสียง และความสำคัญเท่าเทียมกันของเสียงทุกเสียง
    8. การแต่งเพลงในจังหวะที่แตกต่าง ซิมโฟนีบทนี้มีดนตรีที่หดหู่ คล้ายกับว่าไชคอฟสกีพอจะทราบชะตาของตัวเองอยู่แล้ว ถือเป็นบทสั่งลา น้องชายคนสุดท้องของเขาชื่อ โมเดสต์ อิลิชไชคอฟสกี จึงเสนอให้ใช้ชื่อว่า Патетическая (Patetičeskaja) มีความหมายว่า "passionate" หรือ "emotional" ซิมโฟนีบทนี้จึงรู้จักกันในชื่อ Pathétique เป็นศัพท์ภาษาฝรั่งเศสในความหมายเดียวกัน
    9. การนำเสนอแบบร่วมสมัย
    10. ผลงานโอเวอร์เชอร์ เป็นผลงานที่โรแมนติค นุ่มนวล และคอนแชร์โต ของปีเตอร์ อีลิทช์ ไชคอฟสกี มีลักษณะที่หดหู่สื่อถึงเรื่องรักร่วมเพศ

    ตอบลบ
  89. คำถมชุดที่2
    นาย โดนัลด์ ปาวงค์ ม.6/2 เลขที่ใหม่ 5
    1. เพราะเป็นละครเพลงและมีดนตรีเป็นหลักสำคัญในการดำเนินเรื่องราว จึงกล่าวได้ว่าเป็นการผสมรวมระหว่างศิลปะนานาชนิดตั้งแต่วรรณกรรม บทร้อง เครื่องละคร การแสดง การเต้นรำ การร้อง และการเล่นดนตรี ต่สิ่งสำคัญที่แยกอุปรากรออกจากละครเวทีทั่วไป คือ ความสำคัญของเพลง ดนตรีที่ประกอบการร้อง ซึ่งอาจมีตั้งแต่วงดนตรีขนาดเล็กจนไปถึงวงออร์เคสตราขนาดใหญ่
    2. เปียโน
    3. บรามส์ แต่งเพลงสวดเรเควียม เพราะ . เพราะเขาได้รับแต่งตั้งให้เป็นหัวหน้าคณะนักร้องประสานเสียงประจำวังของเจ้าชายแห่งเด็ตโมลด์
    4. โดดเด่นด้วยศาสตร์แห่ง คอนเสิตพ้อย และโพลิโพนี ประพันธ์ในรูปแบบคลาสิค แต่งแต้มด้วยความถวิล และโรแมนติก
    5. ทำนองเพลงที่มีความซับซ้อน ไม่มีบันไดเสียง (Atonal) เป็นงานดนตรีที่เล่นยาก และฟังยาก เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของเขา
    6. ผลงานสำหรับวงออเคสตร้า บทเพลงขับร้องประสานเสียง อุปรากรและการแสดงบนเวที งานสำหรับเดี่ยวเปียโน
    7. เป็นผู้นำด้านการเขียนทำนองเพลงที่มีความซับซ้อน ไม่มีบันไดเสียง (Atonal)
    8. แต่ซิมโฟนีที่ชื่อเสียงโด่งดังที่สุดคือ หมายเลข 6 ที่มีชื่อว่า Pathetique อันเป็นดนตรีชิ้นสุดท้ายก่อนที่คีตกวีเอกผู้นี้จะเสียชีวิต
    ไชคอฟสกี้แต่งเพลงนี้ในปี 1893 Pathetiqueไม่ใช่ชื่อที่ไชคอฟสกี้ตั้งเอง หากแต่เป็นน้องชายของเขาคือ Modest เป็นผู้ตั้งให้พร้อมกับความเห็นชอบของตัวผู้แต่ง คำว่า Pathetique ยังมีปัญหาในการตีความเพราะบางแห่งบอกว่า ด้วยอารมณ์เศร้าสร้อยสุดจะพรรณนา คำว่า Pathetique น่าจะหมายถึง Melancholy หรือความเศร้าหดหู่ แต่บางแหล่งบอกว่าเป็นภาษารัสเซียหมายถึงความกระตือรืนล้นหรือเต็มไปด้วยอารมณ์อันเร่าร้อน อาจเพราะไชคอฟสกี้คุยว่าเขาได้ ทุ่มกายทุ่มใจลงไปในซิมโฟนีบทนี้เสียจนหมดสิ้น
    9. นำเสนอแบบร่วมสมัย
    10. ผลงานโอเวอร์เชอร์ เป็นผลงานที่โรแมนติค นุ่มนวล มีลักษณะที่หดหู่สื่อถึงเรื่องรักร่วมเพศ

    ตอบลบ