วันพุธที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2557

ม.5 หน่วยที่ 3 เรื่อง ละครตะวันตก

        การเรียนรู้วิวัฒนาการของละครตะวันตกสามารถนำมาใช้เป็นแนวทางวิเคราะห์แก่นของการแสดง นาฏศิลป์และการละครที่ต้องการสื่อความหมายในการแสดงได้

        ศิลปะการแสดงละคร เป็นศิลปะที่เกิดขึ้นจากประสบการณ์และจินตนาการของมนุษย์นำมาผูกเป็นเรื่องและจัดเสนอในรูปแบบของการแสดง โดยมีนักแสดงเป็นผู้สื่อความหมายและเรื่องราวต่อผู้ชม โดยรวมศิลปะหลายแขนงเข้าด้วยกัน เช่น การกำกับการแสดง การออกแบบสร้างฉาก การออกแบบเครื่องแต่งกาย การออกแบบและจัดแสง รวมไปถึงดนตรี การร่ายรำ หรือการเต้นรำ


ตัวอย่างโรงละครในสมัยกรีก
ละครตะวันตกยุคเริ่มต้น
        - ยุคกรีก
        - ละครศาสนา
        - ละครที่ไม่เกี่ยวกับศาสนา
        - ละครอิตาลี
        - ละครของอังกฤษในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา
ละครตะวันตกยุคในยุคปัจจุบัน
        - ละครเพลง
        ละครเพลง (อังกฤษ: Musical theatre) เป็นรูปแบบของละครที่นำดนตรี เพลง คำพูด และการเต้นรำ รวมเข้าด้วยกัน การแสดงอารมณ์ ความสงสาร ความรัก ความโกรธ รวมไปถึงเรื่องราวที่บอกเล่าผ่านละคร ผ่านคำพูด ดนตรี การเคลื่อนไหว เทคนิคต่าง ๆ ให้เกิดความบันเทิงโดยรวม ตั้งแต่ต้นศตวรรษที่ 20 การแสดงละครเพลงบนเวทีจะเรียกว่าง่าย ๆ ว่า มิวสิคัล (musicals)         ละครเพลงมีการแสดงทั่วไป ทั่วโลก อาจจะแสดงในงานใหญ่ ๆ ที่มีทุนสร้างสูงอย่าง เวสต์เอนด์ และ ละครบรอดเวย์ ในลอนดอนและนิวยอร์กซิตี หรือโรงละครฟรินจ์ที่เล็กลงมา , ออฟ-บรอดเวย์หรือ การแสดงท้องถิ่น, ทัวร์ละครเพลง หรือการแสดงสมัครเล่นในโรงเรียน มหาวิทยาลัย นอกจากนี้ในอังกฤษและอเมริกาเหนือ ละครเพลงมีความโดดเด่นในหลายประเทศในยุโรป ละตินอเมริกาและเอเชีย         ละครเพลงที่มีชื่อเสียงเช่น Show Boat, Oklahoma!, West Side Story, The Fantasticks, Hair, A Chorus Line, Les Misérables, The Phantom of the Opera, Rent และ The Producers


        - ละครสมัยใหม่
        ละครสมัยใหม่ (Modern Drama) แบ่งออกเป็น 2 ชนิดใหญ่ๆ ได้แก่
                 -ละครสัจจนิยม (realism) และ ธรรมชาตินิยม (naturalism) ทั้งสองแนวถือเป็นละครที่เกิดขึ้นมาต้านกระแส Romance และ Melodrama จะเน้นความเป็น Realistic คือความสมจริง ซึ่งได้อิทธิพลจาก สัทธิสัจจนิยม (Realism) ซึ่งหลังๆจะกลายเป็นลัทธิธรรมชาตินิยม (Naturalism) คือเน้นความเป็นธรรมชาติที่ไม่ต้องการแต่งเติมอะไรทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นหน้าตา หรือลักษณะการดำเนินชีวิต แต่สำหรับละครจะเน้น Realistic
         นอกจากนี้ยังมีละครอีกหลายแนวที่ถือเป็นละครสมัยใหม่ ได้แก่
                 -ละครต่อต้านสัจจนิยม (anti-realism)
                 -ละครแนวสัญญลักษณ์ (symbolism)
                 -ละครแนวเอ็กซ์เพรสชั่นนิสม์ (expressionism)
                 -ละครแนวเอพพิค (epic)
                 -ละครแนวแอบเสิร์ด (absurd)
        - ละครแนวเอปิคหรือมหากาพย์

ละครประเภทต่าง ๆ ฉบับอ่านแป๊บเดียวจบ Click


             ละครตะวันตก สามารถแบ่งได้ตามโครงเรื่อง ได้แก่ ประเภทโศกนาฏกรรม และประเภทสุขนาฏกรรม
คำถามชุดที่ 1
        1. ให้นักเรียนอธิบายละครประเภทโศกนาฏกรรม
        2. ให้นักเรียนอธิบายละครประเภทสุขนาฏกรรม
คำถามชุดที่ 2
        ให้นักเรียนเขียนอธิบายลักษณะการนำเสนอละครตะวันตกแบบเหมือนจริงและแบบไม่เหมือนจริง พร้อมยกตัวอย่างประกอบ
        1. การนำเสนอละครแบบเหมือนจริง
        2. การนำเสนอละครแบบไม่เหมือนจริง

54 ความคิดเห็น:

  1. นายสิทธิร ปอนสืบ ม.5/1 เลขที่ 3
    ตอบคำถามชุดที่ 1
    1............................
    2............................

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. นางสาว สุภาวดี บุญเจียม ม.5/3 เลขที่ 12
      ตอบคำถามชุดที่ 1
      1.ละครโศกนาฏกรรม (Tragedy) มักจะเสนอเรื่องราวจริงจัง และการกระทำของมนุษย์ ที่แสดงการต่อสู้เพื่อความหมายในชีวิต หรือการดิ้นรนเพื่อเอาชนะอุปสรรคต่างๆ ไม่ยอมแพ้ต่อโชคชะตาใดๆ บทจบมักจะจบด้วยความเศร้าโศก แต่ในความเศร้ามักจะมีความสุขปนอยู่
      2.ละครสุขนาฏกรรม(Comedy) เป็นการแสดงถึงความผิดพลาดของมนุษย์ไม่ใช่เพราะความบกร่องทางร่างกาย แต่เป็นความผิดพลาดทางความคิด การตัดสินใจ ทำให้เจออุปสรรคต่างๆนานา และมีความตลกขบขัน และจบบทด้วยดี มีหลายประเภท เช่น
      2.1ละครตลกสุขนาฏกรรม Romantic comedy
      2.2 ละครตลกสถาการณ์ (Sit-com หรือ Situation-comedy) พวกตลกสถานการณ์
      2.3ละครตลกโครมครามSlapstick comedyพวกตลกที่เล่นกับความเจ็บปวดของร่างกาย พวกตลกคาเฟ่
      2.4ละครตลกร้าย (Black comedy) พวกตลกร้าย เช่นตลก69 หรืออย่าง Death becomes hers อย่างที่ตอนที่นางเอกถูกยิงท้องโหว่ แต่ยังเดินได้
      2.5ละครตลกผู้ดี (Comedy of Manner or High comedy) คือการเอาลักษณะท่าทางของพวกผู้ดีมาล้อเลียน
      2.6ละครตลกเสียดสี (Satiric comedy)
      2.7ละครตลกความคิด (Comedy of ideas)
      2.8ละครตลกรักกระจุ๋มกระจิ๋ม (Sentimental comedy)
      2.9ละครตลกโปกฮา (Farce) พวกตลกตีหัว มักจะเป็นตลกที่เอะอ่ะ ตึงตัง ตลกท่าทาง เน้นความเจ็บปวด ความพิกลพิการเช่น ระเบิดเถิดเทิง สามเกลอหัวแข็ง (บางตำราแยกเป็นคนละพวกกับ Comedy)
      2.10ละครตลกเศร้าเคล้าน้ำตา (บางคนเอาไปรวมกับพวกรักกระจุ๋มกระจิ๋ม)
      ตอบคำถามชุดที่ 2
      1.ละครแนวเหมือนจริง (Representational Drama) เป็นละครที่นำเอาชีวิตจริงหรือการสะท้อนสังคม การใช้ชีวิตของมนุษย์ มาแต่งเป็นเรื่องราว ดังที่ว่า "ละครชีวิต"
      2.ละครแนวไม่เหมือนจริง (Presentational Drama) เป็นละครที่ยึดถือคนดูเป็นหลัก เพื่อตอบสนองความต้องการของคนดู อาจจะมีฉากที่หาได้ยากในชีวิตประจำวัน เช่น การแต่งตัวที่ดูเกินจริง เพื่อให้เกิดความหรูหราและมีรสนิยม

      ลบ
  2. น.ส. ภัทรสุดา อังศิริจินดา ม.5/3 เลขที่ 3
    ตอบคำถามชุดที่ 1
    1. ให้ นร. อธิบายละครประเภทโศกนาฏกรรม
    ตอบ ละครโศกนาฏกรรม เป็นละครที่แสดงถึงเรื่องราวที่จริงจัง สะท้อนถึงการกระทำของมนุษย์ ความทุกข์ต่างๆ ละครเอกของละครโศกนาฏกรรมมักจะไม่ใช่คนธรรมดาทั่วไปและมักจะจบด้วยความโศกเศร้า นำมาซึ้งความสุข

    2.ให้ นร. อธิบายละครสุขนาฏกรรม (Comedy)
    ตอบ แสดงความบกพร่องของมนุษย์ ที่เป็นความผิดพลาดที่เป็นอุปสรรคที่ทำให้ชีวิตยุ่งยากมากขึ้น แสดงให้เห็นถึงความไร้สาระของมนุษย์ และมักสะท้อนให้ผู้ชมเห็นชีวิตตัวเองอย่างขบขัน ตัวเอกมักจะชนะอุปสรรคทุกอย่างจบแบบ happy ending ละครสุขนาฏกรรมมีหลายชนิดเช่น Romantic comedy,Sit-com,Slapstick comedy,Black comedy,High comedy,Comedy of ideas,Satiric comedy,Sentimental comedy.

    ตอบลบ
  3. 1. ละครโศกนาฏกรรม (Tragedy) มักจะเสนอเรื่องราวจริงจัง และการกระทำของมนุษญ์ ที่แสดงการต่อสู้เพื่อความหมายในชีวิต เน้นความทุกข์ต่างๆของมนุษย์ และเป็นการต่อต้านพลังที่อยู่เหนือมนุษย์ หรืออยู่เหนือธรรมชาติ เช่นชะตากรรม หรือพรหมลิขิตที่มีอำนาจเหนือมนุษย์ มักจะจบลงด้วยความเศร้า ปัจจุบัน Tragedy ถึงจะจบด้วยความโศกเศร้า แต่มักจะนำมาซึ่งความสุขบางอย่าง เช่นเรื่อง โรมิโอกับจูเลียต ถึงทั้งคู่จะตาย แต่ความตายนั้นก็ทำให้สองตระกูลดีกัน

    2. ละครสุขนาฏกรรม (Comedy)จะแสดงความบกพร่องของมนุษย์ ที่ไม่ใช่ความพิการ แต่จะเป็นความผิดพลาดที่เป็นอุปสรรคที่ทำให้ชีวิตยุ่งยากมากขึ้น แต่จะนำเสนอแบบไม่จริงจัง เหมือน Tragedy แสดงให้เห็นถึงความไร้สาระของมนุษย์ และมักสะท้อนให้ผู้ชมเห็นชีวิตตัวเองอย่างขบขัน และต่างจาก Tragedy ตรงที่ตัวเอกจะได้สิ่งที่สูญเสียคืนมา หรือได้ในสิ่งที่ตามหา ชนะอุปสรรคทุกอย่าง ทำให้สังคมและโลกเจริญขึ้น จบแบบ happy ending

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. น.ส. ปภาพรรณ ธรรมเอกสกุล ม.5/3 เลขที่ 1

      ลบ
  4. น.ส.วิไล แซ่จาง ม.5/3 เลขที่ 11
    คำถามชุดที่ 1
    1.ตอบ โศกนาฏกรรม(tragedy): ตัวละครหลักมีจุดแข็งและอ่อนที่น่าเห็นใจ แสดงให้เห็นว่ามนุษย์มีจุดอ่อนจึงตัดสินใจผิดพลาด ก็เกิดโศกนาฏกรรมในชีวิต เรื่องราวจบลงด้วยความเศร้า ผู้ชมที่ดูละครนี้จะเกิดความสงสารและกลัว นำไปสู่ความเข้าใจชีวิตในที่สุด ตัวอย่างเช่น อีดิปุสจอมราชัน โรมิโอกับจูเลียต อวสานเซลส์แมน เป็นต้น
    2.ตอบ สุขนาฏกรรม (comedy): เป็นละครที่ทำให้ผู้ชมเกิดขบขันในความอ่อนแอต่ำต้อยของมนุษย์ ใช้หลักการพลิกความคาดหมายของผู้ชม การกระทำของตัวละครนำมาซึ่งความเดือดร้อนของตนเองแต่ไม่ใช่เรื่องคอขาดบาดตาย เหมือนให้ผู้ชมได้ย้อนดูตัวเองให้ได้ลองคิดแก้ไขสิ่งผิดพลาดในชีวิต บางครั้งละครตลกก็สะท้อนและเสียดสีสังคมด้วย ทั้งหมดนี้กระตุ้นให้เกิดเสียงหัวเราะอย่างครุ่นคิดทั้งนั้น (ดูว่าผิดพลาดจากอะไร ภาวะอะไรในสังคมที่มันน่าตลกเหลือเกิน อะไรทำนองนี้) เช่น The merchant of Venice, A mid summer’s night dream ของเช็กสเปียร์ ละครของจอร์จ เบอร์นาร์ด ชอว์ , The way of the world ของวิลเลียม คองกรีฟ เป็นต้น
    คำถามชุดที่ 2
    1.ตอบ ละครแนวเหมือนจริง (Representational Drama) คือ ละครที่ให้ภาพชีวิตความเป็นจริงสะท้อนชีวิตในสังคมและความเป็นอยู่ของชุมชนออกมาเป็นเรื่องราว ดังคำกล่าวที่ว่า "ละครคือชีวิต"
    2.ตอบ ละครแนวไม่เหมือนจริง (Presentational Drama) คือ ละครที่ให้ภาพของการแสดงหลุดออกไปจากชีวิตประจำวัน โดยยึดคนดูเป็นเป้าหมายสำคัญ เพื่อให้คนดูเกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ตื่นเต้น และผู้ดูจะเกิดความรู้สึกว่าสิ่งที่ปรากฏไม่ใช่ชีวิตจริง เช่น การแสดงโขน ละครรำ ซึ่งฉากและเครื่องแต่งกายจะหรูหราเกินจริงแต่ก็สวยงาม ประณีตวิจิตรบรรจง มีเสน่ห์ประทับใจคนดู

    ตอบลบ
  5. น.ส.วิไล แซ่จาง ม.5/3 เลขที่ 11
    คำถามชุดที่ 1
    1.ตอบ โศกนาฏกรรม(tragedy): ตัวละครหลักมีจุดแข็งและอ่อนที่น่าเห็นใจ แสดงให้เห็นว่ามนุษย์มีจุดอ่อนจึงตัดสินใจผิดพลาด ก็เกิดโศกนาฏกรรมในชีวิต เรื่องราวจบลงด้วยความเศร้า ผู้ชมที่ดูละครนี้จะเกิดความสงสารและกลัว นำไปสู่ความเข้าใจชีวิตในที่สุด ตัวอย่างเช่น อีดิปุสจอมราชัน โรมิโอกับจูเลียต อวสานเซลส์แมน เป็นต้น
    2.ตอบ สุขนาฏกรรม (comedy): เป็นละครที่ทำให้ผู้ชมเกิดขบขันในความอ่อนแอต่ำต้อยของมนุษย์ ใช้หลักการพลิกความคาดหมายของผู้ชม การกระทำของตัวละครนำมาซึ่งความเดือดร้อนของตนเองแต่ไม่ใช่เรื่องคอขาดบาดตาย เหมือนให้ผู้ชมได้ย้อนดูตัวเองให้ได้ลองคิดแก้ไขสิ่งผิดพลาดในชีวิต บางครั้งละครตลกก็สะท้อนและเสียดสีสังคมด้วย ทั้งหมดนี้กระตุ้นให้เกิดเสียงหัวเราะอย่างครุ่นคิดทั้งนั้น (ดูว่าผิดพลาดจากอะไร ภาวะอะไรในสังคมที่มันน่าตลกเหลือเกิน อะไรทำนองนี้) เช่น The merchant of Venice, A mid summer’s night dream ของเช็กสเปียร์ ละครของจอร์จ เบอร์นาร์ด ชอว์ , The way of the world ของวิลเลียม คองกรีฟ เป็นต้น
    คำถามชุดที่ 2
    1.ตอบ ละครแนวเหมือนจริง (Representational Drama) คือ ละครที่ให้ภาพชีวิตความเป็นจริงสะท้อนชีวิตในสังคมและความเป็นอยู่ของชุมชนออกมาเป็นเรื่องราว ดังคำกล่าวที่ว่า "ละครคือชีวิต"
    2.ตอบ ละครแนวไม่เหมือนจริง (Presentational Drama) คือ ละครที่ให้ภาพของการแสดงหลุดออกไปจากชีวิตประจำวัน โดยยึดคนดูเป็นเป้าหมายสำคัญ เพื่อให้คนดูเกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ตื่นเต้น และผู้ดูจะเกิดความรู้สึกว่าสิ่งที่ปรากฏไม่ใช่ชีวิตจริง เช่น การแสดงโขน ละครรำ ซึ่งฉากและเครื่องแต่งกายจะหรูหราเกินจริงแต่ก็สวยงาม ประณีตวิจิตรบรรจง มีเสน่ห์ประทับใจคนดู

    ตอบลบ
  6. นางสาวชไมพร สอนดี ม.5/3 เลขที่ 10
    ตอบคำถามชุดที่ 1
    1.ให้นักเรียนอธิบายละครประเภทโศกนาฏกรรม
    ตอบ โศกนาฏกรรม(tragedy):ตัวละครหลักมีจุดแข็งและอ่อนที่น่าเห็นใจ แสดงให้เห็นว่ามนุษย์มีจุดอ่อนจึงตัดสินใจผิดพลาด ก็เกิดโศกนาฏกรรมในชีวิต เรื่องราวจบลงด้วยความเศร้า ผู้ชมที่ดูละครนี้จะเกิดความสงสารและกลัว นำไปสู่ความเข้าใจชีวิตในที่สุด ตัวอย่างเช่น อีดิปุสจอมราชัน โรมิโอกับจูเลียต อวสานเซลส์แมน
    2. ให้นักเรียนอธิบายละครประเภทสุขนาฏกรรม
    ตอบ สุขนาฏกรรม (comedy): เป็นละครที่ทำให้ผู้ชมเกิดขบขันในความอ่อนแอต่ำต้อยของมนุษย์ ใช้หลักการพลิกความคาดหมายของผู้ชม การกระทำของตัวละครนำมาซึ่งความเดือดร้อนของตนเองแต่ไม่ใช่เรื่องคอขาดบาดตาย เหมือนให้ผู้ชมได้ย้อนดูตัวเองให้ได้ลองคิดแก้ไขสิ่งผิดพลาดในชีวิต บางครั้งละครตลกก็สะท้อนและเสียดสีสังคมด้วย ทั้งหมดนี้กระตุ้นให้เกิดเสียงหัวเราะอย่างครุ่นคิดทั้งนั้น (ดูว่าผิดพลาดจากอะไร ภาวะอะไรในสังคมที่มันน่าตลกเหลือเกิน อะไรทำนองนี้) เช่น The merchant of Venice, A mid summer’s night dream ของเช็กสเปียร์ ละครของจอร์จ เบอร์นาร์ด ชอว์ , The way of the world ของวิลเลียม คองกรีฟ

    ตอบลบ
  7. นางสาวชไมพร สอนดี ม.5/3 เลขที่ 10
    ตอบคำถามชุดที่ 2
    1. การนำเสนอละครแบบเหมือนจริง
    ตอบ เกณฑ์สำคัญของละครแนวนี้คือ “ละครคือชีวิต” นำเสนอชีวิตจริงโดยไม่ดัดแปลง มองชีวิตด้วยสายตาเป็นกลาง สนใจเหตุผลเบื้องหลังการกระทำต่างๆ ของมนุษย์ ใช้ภาษาสามัญ ไม่มีมาป้องปากหรือทำหน้าร้าย หรือการคิดค้นหลักการแสดงสมัยใหม่ของ Constantin Stanislavskiที่เน้นความจริงภายใน ซึ่งเป็นการแสดงที่แนบเนียนลึกซึ้งเป็นธรรมชาติแทนการแสดงสีหน้าท่าทางตามสูตรแบบเมโลดราม่า เรียกว่า “ศิลปะต้องนำเสนอความจริง” ตัวอย่างละครแนวสัจนิยม เช่น A doll’s house บทละครของ Henrik ibsenผู้ได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่งละครสัจนิยม
    2. การนำเสนอละครแบบไม่เหมือนจริง
    ตอบ เป็นละครที่ให้ภาพของการแสดงหลุดออกไปจากชีวิตประจำวัน โดยยึดคนดูเป็นเป้าหมายสำคัญ เพื่อให้คนดูเกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ตื่นเต้น และผู้ดูจะเกิดความรู้สึกว่าสิ่งที่ปรากฏไม่ใช่ชีวิตจริง เช่น การแสดงโขน ละครรำ ซึ่งฉากและเครื่องแต่งกายจะหรูหราเกินจริงแต่ก็สวยงาม ประณีตวิจิตรบรรจง มีเสน่ห์ประทับใจคนดู

    ตอบลบ
  8. ม.5/3 no7 น.ส.ปัทมาภรณ์ ขลุ่ยทอง
    ตอบคำถามชุดที่1
    1. โศกนาฎกรรม ( Tragedy ) เจริญมาจากการรู้สึกเกรงกลัว ผู้หญิงเป็นผู้ร้องเพลงและเต้นรำบวงสรวงเทพเจ้าไดโอนิซัส ( Dionysus ) ในสมัยโบราณ โศกนาฏกรรมเป็นบทละครที่มีความสำคัญ ไม่ได้จบอย่างไม่มีความสุขเสมอไปทุกเรื่อง ต่อมาในสมัยกลาง ละครชนิดนี้กลับไปเป็นแบบบรรยายอีก แต่เรื่องจบลงแบบไม่มีความสุข และมาในสมัยใหม่ การจบละครแบบไม่สมหวังเป็นจุดมุ่งหมายสำคัญของละครแบบนี้โศกนาฏกรรม เป็นเรื่องเร้าใจให้ผู้ชมละครเกิดอารมณ์สงสาร เกิดความกลัวว่าเหตุการณ์เช่นนั้นจะเกิดขึ้นกับตนบ้าง เป็นละครที่แสดงความทุกข์ยากของมนุษย์ แล้วพัฒนามาจนถึงขั้นสูงสุด ก่อให้เกิดความหายนะหรือความตาย
    โศกนาฏกรรม (อังกฤษ: tragedy) คือ วรรณกรรมโดยเฉพาะประเภทละคร (drama) ที่ลงท้ายด้วยความเศร้าหรือไม่สมหวัง ตัวเอกในเรื่องจะตายในที่สุด เช่น เรื่องลิลิตพระลอ สาวเครือฟ้า โรเมโอจูเลียต คู่กรรม
    2. สุขนาฏกรรม ( Comedy ) มีที่มาเช่นเดียวกันกับโศกนาฏกรรม คือ มาจากการร้องเพลงเกี่ยวกับศาสนาของละครกรีก เป็นละครที่ทำให้ผู้ชมเกิดความสุข ความเพลิดเพลิน ความเพลิดเพลินนี้ทำให้ผู้ชมละครยิ้มอย่างเงียบ จนถึงหัวเราะอย่างก๊ากๆทีเดียว

    ตอบลบ
  9. น.ส.วิไล แซ่จาง ม.5/3 เลขที่ 11
    คำถามชุดที่ 1
    1.ตอบ โศกนาฏกรรม(tragedy): ตัวละครหลักมีจุดแข็งและอ่อนที่น่าเห็นใจ แสดงให้เห็นว่ามนุษย์มีจุดอ่อนจึงตัดสินใจผิดพลาด ก็เกิดโศกนาฏกรรมในชีวิต เรื่องราวจบลงด้วยความเศร้า ผู้ชมที่ดูละครนี้จะเกิดความสงสารและกลัว นำไปสู่ความเข้าใจชีวิตในที่สุด ตัวอย่างเช่น อีดิปุสจอมราชัน โรมิโอกับจูเลียต อวสานเซลส์แมน เป็นต้น
    2.ตอบ สุขนาฏกรรม (comedy): เป็นละครที่ทำให้ผู้ชมเกิดขบขันในความอ่อนแอต่ำต้อยของมนุษย์ ใช้หลักการพลิกความคาดหมายของผู้ชม การกระทำของตัวละครนำมาซึ่งความเดือดร้อนของตนเองแต่ไม่ใช่เรื่องคอขาดบาดตาย เหมือนให้ผู้ชมได้ย้อนดูตัวเองให้ได้ลองคิดแก้ไขสิ่งผิดพลาดในชีวิต บางครั้งละครตลกก็สะท้อนและเสียดสีสังคมด้วย ทั้งหมดนี้กระตุ้นให้เกิดเสียงหัวเราะอย่างครุ่นคิดทั้งนั้น (ดูว่าผิดพลาดจากอะไร ภาวะอะไรในสังคมที่มันน่าตลกเหลือเกิน อะไรทำนองนี้) เช่น The merchant of Venice, A mid summer’s night dream ของเช็กสเปียร์ ละครของจอร์จ เบอร์นาร์ด ชอว์ , The way of the world ของวิลเลียม คองกรีฟ เป็นต้น
    คำถามชุดที่ 2
    1.ตอบ ละครแนวเหมือนจริง (Representational Drama) คือ ละครที่ให้ภาพชีวิตความเป็นจริงสะท้อนชีวิตในสังคมและความเป็นอยู่ของชุมชนออกมาเป็นเรื่องราว ดังคำกล่าวที่ว่า "ละครคือชีวิต"
    2.ตอบ ละครแนวไม่เหมือนจริง (Presentational Drama) คือ ละครที่ให้ภาพของการแสดงหลุดออกไปจากชีวิตประจำวัน โดยยึดคนดูเป็นเป้าหมายสำคัญ เพื่อให้คนดูเกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ตื่นเต้น และผู้ดูจะเกิดความรู้สึกว่าสิ่งที่ปรากฏไม่ใช่ชีวิตจริง เช่น การแสดงโขน ละครรำ ซึ่งฉากและเครื่องแต่งกายจะหรูหราเกินจริงแต่ก็สวยงาม ประณีตวิจิตรบรรจง มีเสน่ห์ประทับใจคนดู

    ตอบลบ
  10. นาย วรรณวุฒิ กาวิละ ม.5/3 เลขที่2 (เลขที่ใหม่)
    ตอบคำถามชุดที่ 1

    1. โศกนาฎกรรม ( Tragedy ) เจริญมาจากการรู้สึกเกรงกลัว ผู้หญิงเป็นผู้ร้องเพลงและเต้นรำบวงสรวงเทพเจ้าไดโอนิซัส ( Dionysus ) ในสมัยโบราณ โศกนาฏกรรมเป็นบทละครที่มีความสำคัญ ไม่ได้จบอย่างไม่มีความสุขเสมอไปทุกเรื่อง ต่อมาในสมัยกลาง ละครชนิดนี้กลับไปเป็นแบบบรรยายอีก แต่เรื่องจบลงแบบไม่มีความสุข และมาในสมัยใหม่ การจบละครแบบไม่สมหวังเป็นจุดมุ่งหมายสำคัญของละครแบบนี้โศกนาฏกรรม เป็นเรื่องเร้าใจให้ผู้ชมละครเกิดอารมณ์สงสาร เกิดความกลัวว่าเหตุการณ์เช่นนั้นจะเกิดขึ้นกับตนบ้าง เป็นละครที่แสดงความทุกข์ยากของมนุษย์ แล้วพัฒนามาจนถึงขั้นสูงสุด ก่อให้เกิดความหายนะหรือความตาย

    2. ละครสุขนาฏกรรม (Comedy)จะแสดงความบกพร่องของมนุษย์ ที่ไม่ใช่ความพิการ แต่จะเป็นความผิดพลาดที่เป็นอุปสรรคที่ทำให้ชีวิตยุ่งยากมากขึ้น แต่จะนำเสนอแบบไม่จริงจัง เหมือน Tragedy แสดงให้เห็นถึงความไร้สาระของมนุษย์ และมักสะท้อนให้ผู้ชมเห็นชีวิตตัวเองอย่างขบขัน และต่างจาก Tragedy ตรงที่ตัวเอกจะได้สิ่งที่สูญเสียคืนมา หรือได้ในสิ่งที่ตามหา ชนะอุปสรรคทุกอย่าง ทำให้สังคมและโลกเจริญขึ้น จบแบบมีความสุข

    ตอบลบ
  11. ไม่ระบุชื่อ28 สิงหาคม 2557 เวลา 19:12

    นางสาว ณัฐชมณฑ์ โกมลารชุน ม.5/1 เลขที่ 21
    ตอบคำถามชุดที่ 1

    1.ให้นักเรียนอธิบายละครประเภทโศกนาฏกรรม
    ตอบ ละครโศกนาฏกรรม หรือ Tragedy
    เป็นละครที่แสดงถึงเรื่องราวที่จริงจัง สะท้อนถึงการกระทำของมนุษย์ ความทุกข์ต่างๆ มักจะจบด้วยความโศกเศร้า แต่นำมาซึ่งความสุข โดยมีหลักเกณฑ์ดังนี้
    1)ละครโศกนาฏกรรมต้องแสดงให้เห็นความทุกข์ทรมานของชีวิตมนุษย์ (เช่น โลภ โกรธ หลง ฯลฯ) และจมลงด้วยหายนะของตัวละครเอก ซึ่งหายนะดังกล่าวนั้นเป็นผลที่เกิดจากสิ่งที่ตัวละครได้กระทำลงไป (ฉะนั้นการให้ตัวละครประสบอุบัติเหตุแบบไม่มีที่มาที่ไป หรือเช่นฟ้าผ่าตายก็จะไม่ใช่ลักษณะนี้)
    2)ตัวละครเอกจะมีสิ่งที่เรียกว่า Tragic Greatness (ความยิ่งใหญ่) ควบคู่ไปกับ Tragic Flaw (ความอ่อนแอ)
    3)ทุกฉากของละครโศกนาฏกรรมจะแสดงถึงความทุกข์ทรมานเพื่อให้ผู้ชมเกิดความรู้สึก Pity and Fear (สงสารและหวาดกลัว) ซึ่งการจะเกิดความรู้สึกดังกล่าวได้นั้น ละครจะต้องทำให้ผู้ชมมีความรู้สึกร่วมก่อน
    4)ละครโศกนาฏกรรมจะนำผู้ชมไปสู่ Cathasis ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญที่สุดของละครโศกนาฏกรรม กล่าวคือหากดูละครจนจบแล้วไม่เกิด Cathasis นั้นจะถือเป็นการสูญเปล่า โดย Cathasis นั้นคือการยกระดับจิตใจ ชำระจิตใจของผู้ชมให้บริสุทธ์ ขณะเดียวกันก็เป็นการให้ผู้ชมได้ระบายอารมณ์ที่คั่งค้างไว้ในใจหรือที่อยู่ในระดับจิตไร้สำนึกออกมา ซึ่งจะระบายไปกับความรู้สึกร่วมกับตัวละคร (Imvolvement)
    ทั้งนี้ ละครโศกนาฏกรรมถือว่ามีคณค่าทางวรรณศิลป์อย่างสูงสุดในเรื่องต่างๆด้วยกัน เช่น
    เรื่อง สาวเครือฟ้า ลิลิตพระลอ โรมิโอและจูเลียต เป็นต้น

    2.ให้นักเรียนอธิบายละครประเภทสุขนาฏกรรม
    ตอบ ละครสุขนาฏกรรม หรือ Comedy
    เป็นละครที่ทำให้ผู้ชมเกิดขบขันในความอ่อนแอต่ำต้อยของมนุษย์ ใช้หลักการพลิกความคาดหมายของผู้ชม การกระทำของตัวละครนำมาซึ่งความเดือดร้อนของตนเองแต่ไม่ใช่เรื่องคอขาดบาดตาย เหมือนให้ผู้ชมได้ย้อนดูตัวเองให้ได้ลองคิดแก้ไขสิ่งผิดพลาดในชีวิต บางครั้งละครตลกก็สะท้อนและเสียดสีสังคมด้วย ทั้งหมดนี้กระตุ้นให้เกิดเสียงหัวเราะอย่างครุ่นคิดทั้งนั้น (ดูว่าผิดพลาดจากอะไร ภาวะอะไรในสังคมที่มันน่าตลกเหลือเกิน อะไรทำนองนี้) เช่น The merchant of Venice, A mid summer’s night dream ของเช็กสเปียร์ ละครของจอร์จ เบอร์นาร์ด ชอว์ , The way of the world ของวิลเลียม คองกรีฟ

    ตอบลบ
  12. น.ส.วัลวลีย์ อุดมรัตนศิริชัย ม.5/1 เลขที่22
    ♡. ตอบคำถามชุดที่1 .♡

    1. ให้นักเรียนอธิบายละครประเภทโศกนาฏกรรม?
    โศกนาฎกรรม(Tragedy)วรรณกรรมโดยเฉพาะประเภทละครที่ลงท้ายด้วยความเศร้าหรือไม่สมหวังตัวเอกในเรื่องจะตายในที่สุด เช่น เรื่องRomeø and Juliet เรื่องลิลิตพระลอ สาวเครือฟ้าโรเมโอจูเลียต โดยปริยายหมายถึงเรื่องราวหรือเหตุการณ์ทั่ว ๆไปที่เป็นเรื่องเศร้าสลดใจ เช่น ชีวิตของเขาเป็นเหมือนโศกนาฏกรรมเกิดในตระกูลเศรษฐี แต่สุดท้ายต้องตายอย่างยาจก.

    2. ให้นักเรียนอธิบายละครประเภทสุขนาฏกรรม?
    สุขนาฏกรรม(Comedy)วรรณกรรมโดยเฉพาะประเภทละครที่ลงท้ายด้วยความสุขหรือสมหวัง เช่นเรื่องอิเหนา ศกุนตลา ชิงนาง ปริศนา, โดยปริยายหมายถึงเรื่องราวหรือเหตุการณ์ทั่วๆ ไปที่ลงท้ายด้วยความสุขหรือสมหวัง เช่น ชีวิตเธอเป็นเหมือนนวนิยายสุขนาฏกรรม แม้จะตกระกำลำบากในวัยเด็ก แต่แล้วก็ได้พบกับความสุขสมหวังในบั้นปลายชีวิต จะแสดงความบกพร่องของมนุษย์ ที่ไม่ใช่ความพิการ แต่จะเป็นความผิดพลาดที่เป็นอุปสรรคที่ทำให้ชีวิตยุ่งยากมากขึ้น แต่จะนำเสนอแบบไม่จริงจัง เหมือน Tragedy แสดงให้เห็นถึงความไร้สาระของมนุษย์ และมักสะท้อนให้ผู้ชมเห็นชีวิตตัวเองอย่างขบขัน

    ตอบลบ
  13. ไม่ระบุชื่อ28 สิงหาคม 2557 เวลา 19:17

    นางสาว ณัฐชมณฑ์ โกมลารชุน ม.5/1 เลขที่ 21
    ตอบคำถามชุดที่ 1
    1.ให้นักเรียนอธิบายละครประเภทโศกนาฏกรรม
    ตอบ ละครโศกนาฏกรรม หรือ Tragedy
    เป็นละครที่แสดงถึงเรื่องราวที่จริงจัง สะท้อนถึงการกระทำของมนุษย์ ความทุกข์ต่างๆ มักจะจบด้วยความโศกเศร้า แต่นำมาซึ่งความสุข โดยมีหลักเกณฑ์ดังนี้

    1) ละครโศกนาฏกรรมต้องแสดงให้เห็นความทุกข์ทรมานของชีวิตมนุษย์ (เช่น โลภ โกรธ หลง ฯลฯ) และจมลงด้วยหายนะของตัวละครเอก ซึ่งหายนะดังกล่าวนั้นเป็นผลที่เกิดจากสิ่งที่ตัวละครได้กระทำลงไป (ฉะนั้นการให้ตัวละครประสบอุบัติเหตุแบบไม่มีที่มาที่ไป หรือเช่นฟ้าผ่าตายก็จะไม่ใช่ลักษณะนี้)
    2) ตัวละครเอกจะมีสิ่งที่เรียกว่า Tragic Greatness (ความยิ่งใหญ่) ควบคู่ไปกับ Tragic Flaw (ความอ่อนแอ)
    3) ทุกฉากของละครโศกนาฏกรรมจะแสดงถึงความทุกข์ทรมานเพื่อให้ผู้ชมเกิดความรู้สึก Pity and Fear (สงสารและหวาดกลัว) ซึ่งการจะเกิดความรู้สึกดังกล่าวได้นั้น ละครจะต้องทำให้ผู้ชมมีความรู้สึกร่วมก่อน
    4) ละครโศกนาฏกรรมจะนำผู้ชมไปสู่ Catharsis ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญที่สุดของละครโศกนาฏกรรม กล่าวคือหากดูละครจนจบแล้วไม่เกิด Catharsis นั้นจะถือเป็นการสูญเปล่า โดย Catharsis นั้นคือการยกระดับจิตใจ ชำระจิตใจของผู้ชมให้บริสุทธ์ ขณะเดียวกันก็เป็นการให้ผู้ชมได้ระบายอารมณ์ที่คั่งค้างไว้ในใจหรือที่อยู่ในระดับจิตไร้สำนึกออกมา ซึ่งจะระบายไปกับความรู้สึกร่วมกับตัวละคร (Imvolvement)
    ทั้งนี้ ละครโศกนาฏกรรมถือว่ามีคณค่าทางวรรณศิลป์อย่างสูงสุดในเรื่องต่างๆด้วยกัน เช่น
    เรื่อง สาวเครือฟ้า ลิลิตพระลอ โรมิโอและจูเลียต เป็นต้น

    2.ให้นักเรียนอธิบายละครประเภทสุขนาฏกรรม
    ตอบ ละครสุขนาฏกรรม หรือ Comedy
    เป็นละครที่ทำให้ผู้ชมเกิดขบขันในความอ่อนแอต่ำต้อยของมนุษย์ ใช้หลักการพลิกความคาดหมายของผู้ชม การกระทำของตัวละครนำมาซึ่งความเดือดร้อนของตนเองแต่ไม่ใช่เรื่องคอขาดบาดตาย เหมือนให้ผู้ชมได้ย้อนดูตัวเองให้ได้ลองคิดแก้ไขสิ่งผิดพลาดในชีวิต
    บางครั้งละครตลกก็สะท้อนและเสียดสีสังคมด้วย ทั้งหมดนี้กระตุ้นให้เกิดเสียงหัวเราะอย่างครุ่นคิดทั้งนั้น (ดูว่าผิดพลาดจากอะไร ภาวะอะไรในสังคมที่มันน่าตลกเหลือเกิน)
    เช่น The merchant of Venice, A mid summer’s night dream ของเช็กสเปียร์ ละครของจอร์จ เบอร์นาร์ด ชอว์ , The way of the world ของวิลเลียม คองกรีฟ

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. ไม่ระบุชื่อ28 สิงหาคม 2557 เวลา 19:35

      ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

      ลบ
    2. ไม่ระบุชื่อ28 สิงหาคม 2557 เวลา 19:38

      ละครสุขนาฏกรรมสามารถแบ่งได้อีกหลายประเภทด้วยกัน ได้แก่
      1) Romantic Comedy หรือย่อว่า rom com
      เป็นภาพยนตร์ประเภทเบาสมอง เบิกบานใจ มีเนื้อเรื่องขำขัน มีประเด็นอยู่ที่ความรักในอุดมคติ อย่างเช่น รักแท้ที่สามารถฟันฝ่าอุปสรรคทั้งหลาย ภาพยนตร์โรแมนติกคอมีดีเป็นแนวย่อยของภาพยนตร์คอมมีดี หรือภาพยนตร์ตลก เช่นเดียวกับภาพยนตร์โรแมนติกหรือภาพยนตร์รัก และมักจะมีองค์ประกอบของความเพี้ยนหรือตลกหน้าตาย แนวโรแมนติกคอมมีดียังสามารถหมายถึงซีรีส์ทางโทรทัศน์ด้วยเช่นกัน
      2) Sit-com หรือ Situation-comedy
      มีลักษณะ คือ ตัวละครจะอยู่ในสถานการณ์จำลองเดียวกันจากตอนหนึ่งไปตอนถัดไป สถานการณ์จำลองมักจะเป็นในครอบครัว ที่ทำงาน หรือ ในวงเพื่อน มุกตลกในซิตคอมมีหลากหลาย แต่ปกติแล้วจะมีลักษณะเป็นแบบตัวละครนำเรื่องไป (character-driven) นำมาซึ่งการใช้ running gags (มุกซ้ำๆประจำตัวละคร ย้ำเรื่อยๆตลอดเรื่อง)
      3) Slapstick Comedy
      เป็นละครตลกโครมคราม พวกตลกที่เล่นกับความเจ็บปวดของร่างกาย เช่น พวกตลกคาเฟ่ เป็นต้น
      4) Black Comedy
      เป็นละครพวกตลกร้าย เช่น ตลก69 หรืออย่าง Death becomes hers ตอนที่นางเอกถูกยิงท้องโหว่ แต่ยังเดินได้
      5) Comedy of Manner
      เป็นละครที่นำเอาลักษณะท่าทางของพวกผู้ดีมาล้อเลียน เรียกได้ว่าเป็นละครตลกผู้ดี
      6) Satiric Comedy
      คือละครแนวเสียดสี มุ่งโจมตีข้อบกพร่องและสันดานของมนุษย์โดยทั่วไป ซึ่งละครจะนำจุดบกพร่องดังกล่าวนั้นมาเยาะเย้ย ถากถางให้อายปนตลกขบขัน
      7) Comedy of Ideas
      เป็นละครตลกที่เน้นโจมตีความคิดความเชื่อที่บกพร่องล้าสมัยในสังคมนั้นๆ ซึ่งเมื่อผู้ชมได้ดูแล้ว ก็จะประจักษ์ถึงข้อบกพร่อง ความล้าสมัยของความเชื่อดังกล่าว
      8) Sentimental Comedy
      เป็นละครตลกที่เต็มไปด้วยอารมณ์อ่อนไหว เน้นความซื่อ ความน่ารักของตัวละครเพื่อให้คนดูเกิดความเห็นใจ ความเอ็นดู
      9) Farce
      เป็นละครพวกตลกตีหัว มักจะเป็นตลกที่เอะอะตึงตัง ตลกท่าทาง เน้นความเจ็บปวด ความพิกลพิการเช่น ระเบิดเถิดเทิง (บางตำราแยกเป็นคนละพวกกับ Comedy)
      10) Tearful Comedy
      เป็นละครตกแบบเรียกน้ำตา มีลักษณะที่ค่อนเข้าเอาใจผู้ชม บทละครถูกเขียนขึ้นด้วยความเห็นอกเห็นใจต่อตัวละครเอกเป็นพิเศษ

      ลบ
  14. นางสาวปุณยาพร คำมณี ม.5/1 เลขที่ 20
    ☑️คำถามชุดที่ 1
    1.ให้นักเรียนอธิบายละครประเภทโศกนาฏกรรม
    ��ตอบ ละครโศกนาฏกรรม (Tragedy) มักจะเสนอเรื่องราวจริงจัง และการกระทำของมนุษญ์ ที่แสดงการต่อสู้เพื่อความหมายในชีวิต เน้นความทุกข์ต่างๆของมนุษย์ และเป็นการต่อต้านพลังที่อยู่เหนือมนุษย์ หรืออยู่เหนือธรรมชาติ เช่นชะตากรรม หรือพรหมลิขิตที่มีอำนาจเหนือมนุษย์ มักจะจบลงด้วยความเศร้า ปัจจุบัน Tragedy ถึงจะจบด้วยความโศกเศร้า แต่มักจะนำมาซึ่งความสุขบางอย่าง เช่นเรื่อง โรมิโอกับจูเลียต ถึงทั้งคู่จะตาย แต่ความตายนั้นก็ทำให้สองตระกูลดีกัน

    2.ให้นักเรียนอธิบายละครประเภทสุขนาฏกรรม
    ��ตอบ ละครสุขนาฏกรรม (Comedy)จะแสดงความบกพร่องของมนุษย์ ที่ไม่ใช่ความพิการ แต่จะเป็นความผิดพลาดที่เป็นอุปสรรคที่ทำให้ชีวิตยุ่งยากมากขึ้น แต่จะนำเสนอแบบไม่จริงจัง เหมือน Tragedy แสดงให้เห็นถึงความไร้สาระของมนุษย์ และมักสะท้อนให้ผู้ชมเห็นชีวิตตัวเองอย่างขบขัน และต่างจาก Tragedy ตรงที่ตัวเอกจะได้สิ่งที่สูญเสียคืนมา หรือได้ในสิ่งที่ตามหา ชนะอุปสรรคทุกอย่าง ทำให้สังคมและโลกเจริญขึ้น จบแบบ happy ending ละครสุขนาฏกรรมมีหลายชนิดเช่น
    1. ละครตลกสุขนาฏกรรม Romantic comedy เช่น ตกกระไดหัวใจพลอยโจร หรือ Notting Hill
    2. ละครตลกสถาการณ์ (Sit-com หรือ Situation-comedy) พวกตลกสถานการณ์
    3. ละครตลกโครมครามSlapstick comedyพวกตลกที่เล่นกับความเจ็บปวดของร่างกาย พวกตลกคาเฟ่
    4. ละครตลกร้าย (Black comedy) พวกตลกร้าย เช่นตลก69 หรืออย่าง Death becomes hers อย่างที่ตอนที่นางเอกถูกยิงท้องโหว่ แต่ยังเดินได้
    5. ละครตลกผู้ดี (Comedy of Manner or High comedy) คือการเอาลักษณะท่าทางของพวกผู้ดีมาล้อเลียน
    6. ละครตลกเสียดสี (Satiric comedy)
    7. ละครตลกความคิด (Comedy of ideas)
    8. ละครตลกรักกระจุ๋มกระจิ๋ม (Sentimental comedy)
    9. ละครตลกโปกฮา (Farce) พวกตลกตีหัว มักจะเป็นตลกที่เอะอ่ะ ตึงตัง ตลกท่าทาง เน้นความเจ็บปวด ความพิกลพิการเช่น ระเบิดเถิดเทิง สามเกลอหัวแข็ง (บางตำราแยกเป็นคนละพวกกับ Comedy)
    10. ละครตลกเศร้าเคล้าน้ำตา (บางคนเอาไปรวมกับพวกรักกระจุ๋มกระจิ๋ม)

    ตอบลบ
  15. น.ส.วัลวลีย์ อุดมรัตนศิริชัย ม.5/1 เลขที่22
    ♡. ตอบคำถามชุดที่2 .♡

    1. การนำเสนอละครแบบเหมือนจริง
    (Representational Drama) คือละครที่ให้ภาพชีวิตความเป็นจริง สะท้อนชีวิตในสังคมและความเป็นอยู่ของชุมชนออกมาเป็นเรื่องราว ดังคำกล่าวที่ว่า “ ละครคือชีวิต ” หรือเรื่องราวที่แต่งขึ้นให้เหมือนจริง เช่นละครโทรทัศน์

    2. การนำเสนอละครแบบไม่เหมือนจริง
    (Presentational Drama) คือละครที่ให้ภาพของการแสดงหลุดออกไปจากชีวิตประจำวัน โดยยึดคนดูเป็นเป้าหมายสำคัญ เพื่อให้คนดูเกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ตื่นเต้น และผู้ดูจะเกิดความรู้สึกว่าสิ่งที่ปรากฏไม่ใช่ชีวิตจริง เช่น ระครแนวแฟนตาซี เพื่อคามสนุกสนาน การแสดงโขน ละครรำ ซึ่งฉากและเครื่องแต่งกายจะหรูหราเกินจริง แต่ก็สวยงามประณีตวิจิตรบรรจง มีเสน่ห์ประทับใจคนดู

    ตอบลบ
  16. นางสาวปุณยาพร คำมณี ม.5/1 เลขที่ 20
    ☑️คำถามชุดที่ 2
    *ให้นักเรียนเขียนอธิบายลักษณะการนำเสนอละครตะวันตกแบบเหมือนจริงและแบบไม่เหมือนจริงพร้อมยกตัวอย่างประกอบ
    1.การนำเสนอละครแบบเหมือนจริง
    ��ตอบ ละครแนวเหมือนจริง (Representational Drama) คือละครที่ให้ภาพชีวิตความเป็นจริง สะท้อนชีวิตในสังคมและความเป็นอยู่ของชุมชนออกมาเป็นเรื่องราว ดังคำกล่าวที่ว่า “ละครคือชีวิต ”

    2.การนำเสนอละครแบบไม่เหมือนจริง
    ��ตอบ ละครแนวไม่เหมือนจริง (Presentational Drama) คือละครที่ให้ภาพของการแสดงหลุดออกไปจากชีวิตประจำวัน โดยยึดคนดูเป็นเป้าหมายสำคัญ เพื่อให้คนดูเกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ตื่นเต้น และผู้ดูจะเกิดความรู้สึกว่าสิ่งที่ปรากฏไม่ใช่ชีวิตจริง เช่น การแสดงโขน ละครรำ ซึ่งฉากและเครื่องแต่งกายจะหรูหราเกินจริง แต่ก็สวยงามประณีตวิจิตรบรรจง มีเสน่ห์ประทับใจคนดู

    ตอบลบ
  17. สุดธิดา แซ่เติ้ง ชั้นม.5/1 เลขที่18

    ตอบคำถามชุดที่ 1

    1. ให้นักเรียนอธิบายละครประเภทโศกนาฏกรรม
    โศกนาฏกรรม (tragedy) คือ วรรณกรรมโดยเฉพาะประเภทละคร (drama) ที่ลงท้ายด้วยความเศร้าหรือไม่สมหวัง ตัวเอกในเรื่องจะตายในที่สุด เช่น เรื่องลิลิตพระลอ สาวเครือฟ้า โรเมโอจูเลียต คู่กรรม

    2. ให้นักเรียนอธิบายละครประเภทสุขนาฏกรรม
    สุขนาฏกรรม(Comedy)วรรณกรรมโดยเฉพาะประเภทละครที่ลงท้ายด้วยความสุขหรือสมหวัง เช่นเรื่องอิเหนา ศกุนตลา ชิงนาง ปริศนา, โดยปริยายหมายถึงเรื่องราวหรือเหตุการณ์ทั่วๆ ไปที่ลงท้ายด้วยความสุขหรือสมหวัง เช่น ชีวิตเธอเป็นเหมือนนวนิยายสุขนาฏกรรม แม้จะตกระกำลำบากในวัยเด็ก แต่แล้วก็ได้พบกับความสุขสมหวังในบั้นปลายชีวิต จะแสดงความบกพร่องของมนุษย์ ที่ไม่ใช่ความพิการ แต่จะเป็นความผิดพลาดที่เป็นอุปสรรคที่ทำให้ชีวิตยุ่งยากมากขึ้น แต่จะนำเสนอแบบไม่จริงจัง เหมือน Tragedy แสดงให้เห็นถึงความไร้สาระของมนุษย์ และมักสะท้อนให้ผู้ชมเห็นชีวิตตัวเองอย่างขบขัน


    ตอบคำถามชุดที่ 2

    ให้นักเรียนเขียนอธิบายลักษณะการนำเสนอละครตะวันตกแบบเหมือนจริงและแบบไม่เหมือนจริง พร้อมยกตัวอย่างประกอบ
    1. การนำเสนอละครแบบเหมือนจริง
    2. การนำเสนอละครแบบไม่เหมือนจริง
    1. ละครแนวเหมือนจริง (Representational Drama) คือ ละครที่ให้ภาพชีวิตความเป็นจริงสะท้อนชีวิตในสังคมและความเป็นอยู่ของชุมชนออกมาเป็นเรื่องราว ดังคำกล่าวที่ว่า "ละครคือชีวิต"
    2. ละครแนวไม่เหมือนจริง (Presentational Drama) คือ ละครที่ให้ภาพของการแสดงหลุดออกไปจากชีวิตประจำวัน โดยยึดคนดูเป็นเป้าหมายสำคัญ เพื่อให้คนดูเกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ตื่นเต้น และผู้ดูจะเกิดความรู้สึกว่าสิ่งที่ปรากฏไม่ใช่ชีวิตจริง เช่น การแสดงโขน ละครรำ ซึ่งฉากและเครื่องแต่งกายจะหรูหราเกินจริงแต่ก็สวยงาม ประณีตวิจิตรบรรจง มีเสน่ห์ประทับใจคนดู

    ตอบลบ
  18. น.ส ปุณิกา สายชูโต ม.5/1 เลขที่ 1

    1.ละครประเภทโศกนาฎกรรม ต้องแสดงให้เห็นถึงความทุกข์ทรมานและจบลงด้วยหายนะของตัวละครเอก
    2.ละครสุขนาฎกรรม แสดงถึงความบกพร่องของมนุษย์ที่ไม่ใช่ความพิการ แต่จะเป็นความผิดพลาดที่จะเป็นอุปสรรคต่อชีวิต และเป็นการนำเสนอแบบไม่จริงจัง

    ตอบลบ
  19. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  20. น.ส ทวินันท์ พันธุมสุต ม.5/1 เลขที่ 18
    คำตอบชุดที่ 1
    1.ละครโศกนาฏกรรม จะเสนอเรื่องราวจริงจัง กระทำของมนุษย์ ที่แสดงการต่อสู้เพื่อความหมายในชีวิต หรือการดิ้นรนเพื่อเอาชนะอุปสรรค ไม่ยอมแพ้ต่อโชคชะตาใดๆ บทจบมักจะจบด้วยความเศร้าโศก
    2.ละครสุขนาฏกรรมเป็นการแสดงถึงความผิดพลาดของมนุษย์เป็นความผิดพลาดทางความคิด การตัดสินใจ ทำให้เจออุปสรรคต่างๆ และมีความตลกขบขัน เช่น
    -ละครตลกสุขนาฏกรรม
    -ละครตลกสถาการณ์
    -ละครตลกโครมคราม พวกตลกที่เล่นกับความเจ็บปวดของร่างกาย พวกตลกคาเฟ่
    -ละครตลกร้าย (Black comedy) พวกตลกร้าย เช่นตลก69 หรืออย่าง Death becomes hers อย่างที่ตอนที่นางเอกถูกยิงท้องโหว่ แต่ยังเดินได้
    -ละครตลกผู้ดี คือการเอาลักษณะท่าทางของพวกผู้ดีมาล้อเลียน
    -ละครตลกเสียดสี
    -ละครตลกความคิด
    -ละครตลกรักระจุ๋มกระจิ๋ม
    -ละครตลกโปกฮา พวกตลกตีหัว มักจะเป็นตลกที่เอะอ่ะ ตึงตัง ตลกท่าทาง เน้นความเจ็บปวด ความพิกลพิการเช่น ระเบิดเถิดเทิง สามเกลอหัวแข็ง
    -ละครตลกเศร้าเคล้าน้ำตา

    ตอบลบ
  21. น.ส.ภรภัทร มัณฑาลัย ม.5/1 เลขที่5
    ตอบคำถามชุดที่1
    1.โศกนาฏกรรม ต้องแสดงความทุกข์ทรมานของมนุษย์ เช่น โลภ โกรธ หลง และจมลงด้วยหายนะของตัวละครเอก ซึึ่งหายนะดังกล่าวนั้นเป็นผลที่เกิดจากสิ่งที่ตัวละครนั้นได้กระทำลงไปตัวละครเอกจะมีความยิ่งใหญ่และความอ่อนแอมาควบคู่กัน
    2.สุขนาฏกรรม comedy จะแสดงความบกพร่องของมนุษย์ที่ไม่ใช่ความพิการแต่จะเป็นความผิดพลาดที่เป็นอุปสรรคที่ทำให้ชีวิตยุ่งยากมากขึ้นแสดงให้เห็นถึงความ บ้าๆบอๆ ปัญญาอ่อน ติ๊งต๊องและไร้สาระของมนุษย์มักจะแสดงความฮาของตัวละครและจะจบแบบมีความสุขสวยงาม

    ตอบลบ
  22. น.ส นัชชา แซเจ้า ชั้น5/1 เลขที่16
    ตอบคำถามชุดที่1

    1. โศกนาฏกรรม(tragedy):ตัวละครหลักมีจุดแข็งและอ่อนที่น่าเห็นใจ แสดงให้เห็นว่ามนุษย์มีจุดอ่อนจึงตัดสินใจผิดพลาด ก็เกิดโศกนาฏกรรมในชีวิต เรื่องราวจบลงด้วยความเศร้า ผู้ชมที่ดูละครนี้จะเกิดความสงสารและกลัว นำไปสู่ความเข้าใจชีวิตในที่สุด ตัวอย่างเช่น อีดิปุสจอมราชัน โรมิโอกับจูเลียต อวสานเซลส์แมน

    2. สุขนาฏกรรม (comedy): เป็นละครที่ทำให้ผู้ชมเกิดขบขันในความอ่อนแอต่ำต้อยของมนุษย์ ใช้หลักการพลิกความคาดหมายของผู้ชม การกระทำของตัวละครนำมาซึ่งความเดือดร้อนของตนเองแต่ไม่ใช่เรื่องคอขาดบาดตาย เหมือนให้ผู้ชมได้ย้อนดูตัวเองให้ได้ลองคิดแก้ไขสิ่งผิดพลาดในชีวิต บางครั้งละครตลกก็สะท้อนและเสียดสีสังคมด้วย ทั้งหมดนี้กระตุ้นให้เกิดเสียงหัวเราะอย่างครุ่นคิดทั้งนั้น (ดูว่าผิดพลาดจากอะไร ภาวะอะไรในสังคมที่มันน่าตลกเหลือเกิน อะไรทำนองนี้) เช่น The merchant of Venice, A mid summer’s night dream ของเช็กสเปียร์ ละครของจอร์จ เบอร์นาร์ด ชอว์ , The way of the world ของวิลเลียม คองกรีฟ

    ตอบลบ
  23. pingang
    1.โศกนาฏกรรม (อังกฤษ: tragedy) คือ วรรณกรรมโดยเฉพาะประเภทละคร (drama) ที่ลงท้ายด้วยความเศร้าหรือไม่สมหวัง ตัวเอกในเรื่องจะตายในที่สุด เช่น เรื่องลิลิตพระลอ สาวเครือฟ้า โรเมโอจูเลียต คู่กรรม
    2.2. สุขนาฏกรรม ( Comedy ) มีที่มาเช่นเดียวกันกับโศกนาฏกรรม
    คือ มาจากการร้องเพลงเกี่ยวกับศาสนาของละครกรีก
    เป็นละครที่ทำให้ผู้ชมเกิดความสุข ความเพลิดเพลิน
    3.ละครแนวเหมือนจริง (Representational Drama) คือ ละครที่ให้ภาพชีวิตความเป็นจริงสะท้อนชีวิตในสังคม และความเป็นอยู่ของชุมชนออกมาเป็นเรื่องราว ดังคำกล่าวที่ว่า "ละครคือชีวิต"
    4.ละครแนวไม่เหมือนจริง (Presentational Drama) คือ ละครที่ให้ภาพของการแสดงหลุดออกไป จากชีวิตประจำวันโดยยึดคนดูเป็นเป้าหมายสำคัญ เพื่อให้คนดูเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน ตื่นเต้น และผู้ดูจะเกิดความรู้สึกว่าสิ่งที่ปรากฏไม่ใช่ชีวิตจริง

    ตอบลบ
  24. นาย ศุภสิน หลิน ม.5/1 เลขที่ 15. ตอบคำถามชึดที่หนึ่ง. 1. ''โศกนาฏกรรม''' ({{lang-en|tragedy}}) คือ วรรณกรรมโดยเฉพาะ[[drama|ประเภทละคร]] (drama) ที่ลงท้ายด้วยความเศร้าหรือไม่สมหวัง ตัวเอกในเรื่องจะตายในที่สุด เช่น เรื่อง[[ลิลิตพระลอ]] [[สาวเครือฟ้า]] [[โรเมโอจูเลียต]] [[คู่กรรม]]
    และนี้คือการอธิบาย ของ ละครประเภทโศกนาฏกรรมวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบทฤษฎีละครแนวโศกนาฏกรรมตั้งแต่สมัยกรีกจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เพื่อให้เห็นภาพรวมและเข้าใจพัฒนาการของทฤษฎีดังกล่าว จากการศึกษาพบว่า The Poetics ของอริสโตเติล เป็นทฤษฎีบทแรกที่ให้คำจำกัดความและวิเคราะห์องค์ประกอบของละครโศกนาฏกรรมอย่างละเอียด แล้วจึงส่งอิทธิพลต่อ Art of Poetry ของฮอราชพบว่านักการละครให้คำจำกัดความว่าละครโศกนาฏกรรมคือการเปลี่ยนแปลงของโชคชะตาของตัวละครกษัตริย์หรือเจ้าชาย จบลงด้วยความหายนะ องค์ประกอบทุกส่วนจะต้องก่อให้เกิดความสงสารและความกลัวเพื่อทำให้ผู้ชมได้ชำระล้างอารมณ์ รวมทั้งให้ความบันเทิงพร้อมบทเรียนทางศีลธรรม แสดงให้เห็นการยกย่องสนับสนุนความดีและการลงโทษการกระทำชั่ว นอกจากนี้ยังนำความคิดคลาสสิกมาสร้างเป็นกฎความงดงามเหมาะสมในการสร้างตัวละคร การหลีกเลี่ยงฉากสยดสยอง การแยกประเภทละครโศกนาฏกรรมและสุขนาฏกรรมอย่างชัดเจน และกฎความสมจริงเหมือนชีวิต ได้แก่กฎเอกภาพทั้งสาม แต่ละสมัยเคร่งครัดต่อกฎต่างกัน เช่น สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการในอิตาลียอมรับให้ละครจบลงด้วยความสุขสมหวังของตัวละคร ในขณะที่ฝรั่งเศสเห็นว่าควรจบลงอย่างแหละนี้คือตัวอย่าง คร่าวๆ เกี่ยวกับ ละครประเภทโศกนาฎกรรม
    2.[สุกขะนาดตะกํา] น. วรรณกรรมโดยเฉพาะประเภทละคร ที่ลงท้ายด้วยความสุขหรือสมหวัง เช่นเรื่องอิเหนา ศกุนตลา ชิงนาง ปริศนา, โดยปริยายหมายถึงเรื่องราวหรือเหตุการณ์ ทั่ว ๆ ไปที่ลงท้ายด้วยความสุขหรือสมหวัง เช่น ชีวิตเธอเป็น เหมือนนวนิยายสุขนาฏกรรม แม้จะตกระกําลําบากในวัยเด็ก แต่แล้วก็ได้พบกับความสุขสมหวังในบั้นปลายชีวิต.
    สุขนาฎกรรม แบ่งเป็น 10 ประเภท. 1. ละครตลกสุขนาฏกรรม Romantic comedy เช่น ตกกระไดหัวใจพลอยโจร หรือ Notting Hill.
    2. ละครตลกสถาการณ์ (Sit-com หรือ Situation-comedy) พวกตลกสถานการณ์
    3. ละครตลกโครมครามSlapstick comedyพวกตลกที่เล่นกับความเจ็บปวดของร่างกาย พวกตลกคาเฟ่
    4. ละครตลกร้าย (Black comedy) พวกตลกร้าย เช่นตลก69 หรืออย่าง Death becomes hers อย่างที่ตอนที่นางเอกถูกยิงท้องโหว่ แต่ยังเดินได้
    5. ละครตลกผู้ดี (Comedy of Manner or High comedy) คือการเอาลักษณะท่าทางของพวกผู้ดีมาล้อเลียน
    6. ละครตลกเสียดสี (Satiric comedy)
    7. ละครตลกความคิด (Comedy of ideas)
    8. ละครตลกรักกระจุ๋มกระจิ๋ม (Sentimental comedy)
    9. ละครตลกโปกฮา (Farce) พวกตลกตีหัว มักจะเป็นตลกที่เอะอ่ะ ตึงตัง ตลกท่าทาง เน้นความเจ็บปวด ความพิกลพิการเช่น ระเบิดเถิดเทิง สามเกลอหัวแข็ง (บางตำราแยกเป็นคนละพวกกับ Comedy)
    10. ละครตลกเศร้าเคล้าน้ำตา (บางคนเอาไปรวมกับพวกรักกระจุ๋มกระจิ๋ม)

    ตอบลบ
  25. น.ส ชนมน อุ่นเรือน ม.5/1 เลขที่19
    ตอบคำถามชุดที่1

    1. ละครโศกนาฏกรรมแสดงให้เห็นความทุกข์ทรมานของชีวิตมนุษย์ (เช่น โลภ โกรธ หลง ฯลฯ) และจมลงด้วยหายนะของตัวละครเอก (ความยิ่งใหญ่) ละครเช่นชาติกำเหนิดหรือสถานะทางสังคม หรือมีนิสัยเกินกว่าคนธรรมดาในอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่นมีความกล้าหาญมาก มีคุณธรรมมาก ซึ่งจากลักษณะดังกล่าวทำให้ตัวละครเอกของละครโศกนาฏกรรมมักจะไม่ใช่คนธรรมดาทั่ว
    จุดอ่อนและข้อบกพร่องบางประการในนิสัยของตัวละครเอก อันนำมาซึ่งหายนะ เช่นความหยิ่ง ขี้หึง โลภ โศกนาฏกรรมจะนำผู้ชมไปสู่ Cathasis ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญที่สุดของละครโศกนาฏกรรม กล่าวคือหากดูละครจนจบแล้วไม่เกิด Cathasis นั้นจะถือเป็นการสูญเปล่า โดย Cathasis นั้นคือการยกระดับจิตใจ ชำระจิตใจของผู้ชมให้บริสุทธ์ (เช่นรู้ตัวว่าไม่ควรหูเบาแบบ Othello ไม่ทะเยอะทะยานแบบ Macbeth) ขณะเดียวกันก็เป็นการให้ผู้ชมได้ระบายอารมณ์ที่คั่งค้างไว้ในใจหรือที่อยู่ในระดับจิตไร้สำนึกออกมา ซึ่งจะระบายไปกับความรู้สึกร่วมกับตัวละคร2.ละครสุขนาฏกรรม (Comedy)จะแสดงความบกพร่องของมนุษย์ ที่ไม่ใช่ความพิการ แต่จะเป็นความผิดพลาดที่เป็นอุปสรรคที่ทำให้ชีวิตยุ่งยากมากขึ้น แต่จะนำเสนอแบบไม่จริงจัง เหมือน Tragedy แสดงให้เห็นถึงความไร้สาระของมนุษย์ และมักสะท้อนให้ผู้ชมเห็นชีวิตตัวเองอย่างขบขัน และต่างจาก Tragedy ชนะอุปสรรคทุกอย่าง ทำให้สังคมและโลกเจริญขึ้น จบแบบ happy ending ละครสุขนาฏกรรมมีหลายชนิดเช่น 1. ละครตลกสุขนาฏกรรม Romantic comedy เช่น ตกกระไดหัวใจพลอยโจร หรือ Notting Hill.
    2. ละครตลกสถาการณ์ (Sit-com หรือ Situation-comedy) พวกตลกสถานการณ์
    3. ละครตลกโครมครามSlapstick comedyพวกตลกที่เล่นกับความเจ็บปวดของร่างกาย พวกตลกคาเฟ่
    4. ละครตลกร้าย (Black comedy) พวกตลกร้าย เช่นตลก69 หรืออย่าง Death becomes hers อย่างที่ตอนที่นางเอกถูกยิงท้องโหว่ แต่ยังเดินได้
    5. ละครตลกผู้ดี (Comedy of Manner or High comedy) คือการเอาลักษณะท่าทางของพวกผู้ดีมาล้อเลียน
    6. ละครตลกเสียดสี (Satiric comedy)
    7. ละครตลกความคิด (Comedy of ideas)
    8. ละครตลกรักกระจุ๋มกระจิ๋ม (Sentimental comedy)
    9. ละครตลกโปกฮา (Farce) พวกตลกตีหัว มักจะเป็นตลกที่เอะอ่ะ ตึงตัง ตลกท่าทาง เน้นความเจ็บปวด ความพิกลพิการเช่น ระเบิดเถิดเทิง สามเกลอหัวแข็ง (บางตำราแยกเป็นคนละพวกกับ Comedy)
    10. ละครตลกเศร้าเคล้าน้ำตา
    ใกล้เคียงกับละครโทรทัศน์

    ตอบลบ
  26. คำถามชุดที่ 2
    น.ส ปุณิกา สายชูโต ม.5/1 เลขที่ 1
    1.การนำเสนอละครแบบชีวิตจริง จะสะท้อนถึงสังคมและชุมชนซึ่งจะมีเรื่องราวแบบ ละครชีวิต
    2.การนำเสนอละครแบบไม่เหมือนจริง จะแสดงให้หลุดออกไปจากแบบชีวิตจริง

    ตอบลบ
  27. น.ส ทวินันท์ พันธุมสุต เลขที่ 18 ม.5/1
    คำตอบชุดที่2����
    น.ส.วัลวลีย์ อุดมรัตนศิริชัย ม.5/1 เลขที่22
    ♡. ตอบคำถามชุดที่2 .♡

    1. การนำเสนอละครแบบเหมือนจริงคือละครที่ให้ภาพชีวิตความเป็นจริง สะท้อนชีวิตในสังคมและความเป็นอยู่ของชุมชนออกมาเป็นเรื่องราว หรือไม่ก็ละครคือชีวิต หรือเรื่องราวที่แต่งขึ้นให้เหมือนจริง

    2. การนำเสนอละครแบบไม่เหมือนจริงคือละครที่ให้ภาพของการแสดงหลุดออกไปจากชีวิตประจำวัน โดยยึดคนดูเป็นเป้าหมายสำคัญ เน้นสนุกสนาน เพลิดเพลิน ตื่นเต้น ดูแล้วจะเกิดความรู้สึกว่าสิ่งที่ปรากฏไม่ใช่ชีวิตจริง เช่น แฟนตาซี เพื่อคามสนุกสนาน โขน ละครรำ ประณีตวิจิตรบรรจง มีเสน่ห์ประทับใจคนดู
    ประมานนี้ละค่ะ ������

    ตอบลบ
  28. นาย ภูวดล แซ่ซู ม5/1 เลขที่03 ตอบคำถามขอที่1
    1.โศกนาฏกรรม (อังกฤษ: tragedy) คือ วรรณกรรมโดยเฉพาะประเภทละคร (drama) ที่ลงท้ายด้วยความเศร้าหรือไม่สมหวัง ตัวเอกในเรื่องจะตายในที่สุด เช่น เรื่องลิลิตพระลอ สาวเครือฟ้า โรเมโอจูเลียต คู่กรรม

    2.ประวัติละครตะวันตกโดยย่อ (มาก)
    เรามีหลักฐานประวัติการแสดงละครมาตั้งแต่ 500 ปีก่อนคริสตศักราชในยุคกรีกและโรมัน การละครรุ่งเรืองมากในสองยุคนี้ มีละครออกมามากมายและเราก็ยึดถือละครเหล่านี้เป็นแม่แบบบทคลาสสิคของละครตะวันตก การเติบโตของศิลปะการละครหยุดชะงักในช่วงยุคกลาง (ศตวรรษที่ 6 – 15) ซึ่งมีสภาวะขัดแย้งเยอะมากในสังคม ช่วงนั้นศาสนจักรเป็นใหญ่ ละครถูกมองว่าเป็นตัวปลุกปั่นยั่วยุและห้ามแสดงละคร (เว้นละครศาสนา) จนกระทั่งมาถึงในยุคฟื้นฟูศิลปะวิทยาการในช่วงศตวรรษที่ 15-16 เป็นยุคที่ฟื้นฟูศิลปะวิทยาการต่าง ๆ รวมทั้งองค์ความรู้จากสมัยกรีกและโรมัน จึงมีการศึกษาบทละครเก่าๆ เลียนแบบระเบิดเถิดเทิงเพราะคนเก็บกดมานาน และเกิดการต่อยอดละครใหม่ ๆ ด้วย เช่นในอังกฤษ ฝรั่งเศส อิตาลี แต่ในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการนี้อังกฤษโดดเด่นมาก มีนักเขียนเก่ง ๆ เยอะ มีทั้งสมาคม โรงละคร มีปรากฏการณ์สำคัญเช่นสร้างโรงละครแล้วเก็บเงินค่าเข้าชม

    ตอบลบ
  29. 1. ให้ นร. อธิบายละครประเภทโศกนาฏกรรม
    ตอบ ละครโศกนาฏกรรม เป็นละครที่แสดงถึงเรื่องราวที่เด่นชัด สะท้อนถึงการกระทำของมนุษย์ ความทุกข์ต่างๆ ละครเอก มักจะจบด้วยความโศกเศร้า นำมาซึ้งความสุขและละครโศกนาฏกรรมมักจะไม่เกิดกับคนธรรมดาทั่วไป

    2.ให้ นร. อธิบายละครสุขนาฏกรรม (Comedy)
    ตอบ แสดงความบกพร่องของมนุษย์ ที่เป็นความผิดพลาดที่เป็นอุปสรรคที่ทำให้ชีวิตวุ่นวายมากขึ้น มักสะท้อนให้ผู้ชมเห็นชีวิตตัวเองอย่างขบขัน แสดงให้เห็นถึงความไม่มีเหตุผลของมนุษย์ และตัวเอกมักจะชนะอุปสรรคทุกอย่างจบแบบ happy ending ละครสุขนาฏกรรมมีหลายชนิดเช่น Romantic comedy,Sit-com,Slapstick comedy,Black comedy,High comedy,Comedy.เป็นต้น
    นาย ณัฐวุฒิ แสนเหลี่ยว เลขที่6 ม.5/1

    ตอบลบ
  30. คำตอบ
    1. นางสาว ธนภรณ์ ตันลาพุฒ เลขที่ 2

      ตอบชุดที่หนึ่ง

      → ละครโศกนาฏกรรม อธิบายคือ ละครที่จบแบบไม่ Happy ไม่สมหวัง พระเอกตายนางเอกตาย สะท้อนสังคมปัจจุบัน

      →ละครสุขนาฏกรรม อธิบายคือ จบแบบสมหวัง

      ขออนุญาตย่อเนื่องจากส่งแล้วไม่ยอมขึ้น

      ลบ
    2. ส่งชุด 2 มุกกี้น้อย เลขที่ 2

      → อธิบายละครแบบสมจริง
      ละครที่สะท้อนชีวิตละครชุมชมละครสังคม

      → อธิบายละครแบบไม่เหมือนจริง
      ละครที่เน้นความสนุกสนาน ตื่นเต้น แนวแฟนตาซี

      ลบ
  31. นายสิทธิกร ปอนสืบ ม.5/1 เลขที่ 3

    ตอบข้อ1. วรรณกรรมโดยเฉพาะประเภทละคร (drama) ที่ลงท้ายด้วยความ้เศร้าหรือไม่สมหวังตัวเอกในเรื่องจะตายในที่สุด

    ตอบข้อ2. วรรณกรรมโดยเฉพ่าะประเภทละครที่ลงท้ายด้วยความสุขหรือสมหวัง้เช่นเรื่องิอิเหนา โดยปริยาหมายถึงเรื่องราวหรือเหตุการณ์ทั่วๆไปที่ลงท้ายความสุขหรือสมหวังเช่น ชีวิตเธอเป็น้เหมื่อนนนวนิยายสุขนาฏกรรมแม้จะตกรัะกำลำบากในตอนเด็กแต่แร้วได้พบกับความสุขสมหวังในบั้นปลายชีวิต

    ตอบลบ
  32. (ชุดที่2)
    -อธิบายการนำเสนอละครแบบเหมือนจริง
    ตอบ : ละครแนวเหมือนจริง (Representational Drama) คือ ละครที่ให้ภาพชีวิตความเป็นจริงสะท้อนชีวิตในสังคม และความเป็นอยู่ของชุมชนออกมาเป็นเรื่องราว ดังคำกล่าวที่ว่า "ละครคือชีวิต"
    -อธิบายการนำเสนอละครแบบไม่เหมือนจริง
    ตอบ : ละครแนวไม่เหมือนจริง (Presentational Drama) คือ ละครที่ให้ภาพของการแสดงหลุดออกไป จากชีวิตประจำวันโดยยึดคนดูเป็นเป้าหมายสำคัญ เพื่อให้คนดูเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน ตื่นเต้น และผู้ดูจะเกิดความรู้สึกว่าสิ่งที่ปรากฏไม่ใช่ชีวิตจริง
    เช่น การแสดงโขน ละครรำ ซึ่งฉากและเครื่องแต่งกายจะหรูหราเกินจริง แต่ก็สวยงาม ประณีตวิจิตรบรรจง มีเสน่ห์ประทับใจคนดู

    ตอบลบ
  33. นาย ภูวดล แซ่ซู ม5/1 เลขที่ 07 ตอบคำถามขอที่2
    .....1. ละครแนวเหมือนจริง (Representational Drama) คือ ละครที่ให้ภาพชีวิตความเป็นจริงสะท้อนชีวิตในสังคม และความเป็นอยู่ของชุมชนออกมาเป็นเรื่องราว ดังคำกล่าวที่ว่า "ละครคือชีวิต"
    .....2. ละครแนวไม่เหมือนจริง (Presentational Drama) คือ ละครที่ให้ภาพของการแสดงหลุดออกไป จากชีวิตประจำวันโดยยึดคนดูเป็นเป้าหมายสำคัญ เพื่อให้คนดูเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน ตื่นเต้น และผู้ดูจะเกิดความรู้สึกว่าสิ่งที่ปรากฏไม่ใช่ชีวิตจริง
    เช่น การแสดงโขน ละครรำ ซึ่งฉากและเครื่องแต่งกายจะหรูหราเกินจริง แต่ก็สวยงาม ประณีตวิจิตรบรรจง มีเสน่ห์ประทับใจคนดู
    .....1.2. องค์ประกอบของละครการแสดงที่เป็นละครจะต้องมีองค์ประกอบ 4 ประการ ดังนี้
    .....1. ต้องมีเรื่อง (Story) ตัวละครเจรจาไปตามเนื้อเรื่องของบทละครผู้ประพันธ์บทจะต้องมีความสามารถในการบรรยายบุคลิกลักษณะ
    และนิสัยของตัวละครได้ชัดเจน
    .....2. ต้องมีเนื้อหาสรุป (Subject) หรือแนวคิด (Theme) เช่น ต้องการให้เกิดความรักชาติ ความกตัญญูกตเวที หรือมุ่งสอนจริยธรรม
    .....3. นิสัยตัวละคร (Characterization) บุคลิกลักษณะ นิสัยของตัวละครต้องตรงกับเนื้อหาสรุป
    .....4. บรรยากาศ (Atmosphere) หมายถึง การสร้างบรรยากาศรอบ ๆที่เกี่ยวกับตัวละคร เพื่อช่วยให้ผู้ชมละครมีความรู้สึกคล้อยตามไปกับละคร


    .....2. ความสัมพันธ์ของละครกับชีวิตมนุษย์
    .....ละครเป็นศิลปะที่สะท้อนภาพชีวิต โดยอาศัยสื่อแบบต่าง ๆ ในการนำเสนอภาพเรื่องราวของชีวิต ฉะนั้น "มนุษย์" คือ สาระอย่างหนึ่งของละคร ศิลปะการละคร เป็นการแสดงอย่างหนึ่งที่มนุษย์นำประสบการณ์ในชีวิตจริงผนวกกับ จินตนาการสร้างสรรค์ เป็นเรื่องขึ้นมา แล้วถ่ายทอดเป็นการแสดงในรูปแบบต่าง ๆ โดยมีนักแสดงเป็นผู้ถ่ายทอดเรื่องราวความรู้สึกและสิ่งอื่น ๆ ต่อผู้ชม ทั้งนี้เพื่อสร้างความบันเทิง ความประทับใจ หรือจะมีวัตถุประสงค์อื่นนอกเหนือจากที่กล่าวมาแล้วก็ได้
    ซึ่งเราสามารถสรุปความสัมพันธ์ของละครกับชีวิตมนุษย์ได้ ดังนี้
    .....2.1. ละครช่วยตอบสนองความต้องการของมนุษย์
    ศิลปะการละคร มีจุดมุ่งหมายเพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ 3 ระดับ ดังนี้
    .....1. อารมณ์ การละคร มีจุดมุ่งหมายให้ความบันเทิงแก่มนุษย์ได้ผ่อนคลายความเครียด
    หรือบางครั้งก็กระตุ้นอารมณ์ให้เกิดความรู้สึกตื่นเต้น ทำให้มนุษย์มีความสุข กระตือรือร้นในการดำเนินชีวิต
    .....2. สมอง ให้คุณค่าทางสติปัญญา โดยการดูละครแล้วกลับมาพิจารณาปัญหาต่าง ๆ
    เกี่ยวกับตนเอง เกี่ยวกับมนุษยชาติและเกี่ยวกับสังคมส่วนรวม
    .....3. จิตใจ ความสัมพันธ์ของศิลปะการละครกับจิตใจของมนุษย์มีมาแต่โบราณ จะเห็นได้ว่าการละครตะวันออกและตะวันตกล้วนถือกำเนิดจากพิธีบวงสรวงเทพเจ้า
    เพื่อขอพระ และให้เทพเจ้าบันดาลสิ่งต่าง ๆ ที่มนุษย์ปรารถนาหรือถ้าจะให้ชัดเจนยิ่งขึ้น ก็พิจารณาได้จากละครเวที ทั้งนี้เพราะสิ่งที่เกิดขึ้นในละครเวที มีลักษณะเหมือนชีวิตจริง ๆ ของมนุษย์ คือเหตุการณ์เกิดขึ้นมาแล้วก็ผ่านเลยไป ผู้ชมไม่สามารถหยุดพักเหมือนการอ่านหนังสือหรือดูโทรทัศน์ เช่น เมื่อรู้สึกเบื่อก็สามารถปิดหนังสือโทรทัศน์ได้ แต่ผู้ชมละครจะต้องนั่งอยู่ในโรงละคร เพื่อร่วมรู้เห็นการกระทำ (Action) ของตัวละครจนจบเรื่อง จะให้ละครหยุดพักการแสดงเมื่อเราไม่อยากชมและถ้าจะชมต่อ ก็จะให้เริ่มแสดงตรงช่วงนั้น ๆ ต่อเนื่องไปย่อมไม่สามารถจะกระทำได้ เพราะละครแม้จะเป็นผู้แสดงชุดเดียว บทเดียวกัน แต่ต่างช่วงเวลา การแสดงย่อมจะไม่เหมือนกันเสียทีเดียวทั้งหมด ละครเวทีจึงมีลักษณะเหมือนประสบการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตจริง ๆ

    ตอบลบ
  34. นาย ศุภสิน หลิน ม.5/1 เลขที่ 15. ตอบคำถามชุดที่สอง. .....Drama ความหมายของละคร ละคร หมายถึง ศิลปะการแสดงที่เกิดขึ้นจากการนำภาพ ประสบการณ์ และจินตนาการของมนุษย์มาผูกเป็นเรื่องราว แล้วนำเสนอแก่ผู้ชมโดยมีผู้แสดงเป็นสื่อความหมาย
    นอกจากนี้ ยังนักปราชญ์ นักการศึกษา ท่านผู้รู้ ได้ให้นิยามความหมาย
    ของละครแตกต่างกันออกไป ตัวอย่างเช่น
    .....1.1. ประเภทของละคร ละครแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้
    .....1. ละครแนวเหมือนจริง (Representational Drama) คือ ละครที่ให้ภาพชีวิตความเป็นจริงสะท้อนชีวิตในสังคม และความเป็นอยู่ของชุมชนออกมาเป็นเรื่องราว ดังคำกล่าวที่ว่า "ละครคือชีวิต"
    .....2. ละครแนวไม่เหมือนจริง (Presentational Drama) คือ ละครที่ให้ภาพของการแสดงหลุดออกไป จากชีวิตประจำวันโดยยึดคนดูเป็นเป้าหมายสำคัญ เพื่อให้คนดูเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน ตื่นเต้น และผู้ดูจะเกิดความรู้สึกว่าสิ่งที่ปรากฏไม่ใช่ชีวิตจริง
    เช่น การแสดงโขน ละครรำ ซึ่งฉากและเครื่องแต่งกายจะหรูหราเกินจริง แต่ก็สวยงาม ประณีตวิจิตรบรรจง มีเสน่ห์ประทับใจคนดู
    .....1.2. องค์ประกอบของละครการแสดงที่เป็นละครจะต้องมีองค์ประกอบ 4 ประการ ดังนี้
    .....1. ต้องมีเรื่อง (Story) ตัวละครเจรจาไปตามเนื้อเรื่องของบทละครผู้ประพันธ์บทจะต้องมีความสามารถในการบรรยายบุคลิกลักษณะ
    และนิสัยของตัวละครได้ชัดเจน
    .....2. ต้องมีเนื้อหาสรุป (Subject) หรือแนวคิด (Theme) เช่น ต้องการให้เกิดความรักชาติ ความกตัญญูกตเวที หรือมุ่งสอนจริยธรรม
    .....3. นิสัยตัวละคร (Characterization) บุคลิกลักษณะ นิสัยของตัวละครต้องตรงกับเนื้อหาสรุป
    .....4. บรรยากาศ (Atmosphere) หมายถึง การสร้างบรรยากาศรอบ ๆที่เกี่ยวกับตัวละคร เพื่อช่วยให้ผู้ชมละครมีความรู้สึกคล้อยตามไปกับละคร


    .....2. ความสัมพันธ์ของละครกับชีวิตมนุษย์
    .....ละครเป็นศิลปะที่สะท้อนภาพชีวิต โดยอาศัยสื่อแบบต่าง ๆ ในการนำเสนอภาพเรื่องราวของชีวิต ฉะนั้น "มนุษย์" คือ สาระอย่างหนึ่งของละคร ศิลปะการละคร เป็นการแสดงอย่างหนึ่งที่มนุษย์นำประสบการณ์ในชีวิตจริงผนวกกับ จินตนาการสร้างสรรค์ เป็นเรื่องขึ้นมา แล้วถ่ายทอดเป็นการแสดงในรูปแบบต่าง ๆ โดยมีนักแสดงเป็นผู้ถ่ายทอดเรื่องราวความรู้สึกและสิ่งอื่น ๆ ต่อผู้ชม ทั้งนี้เพื่อสร้างความบันเทิง ความประทับใจ หรือจะมีวัตถุประสงค์อื่นนอกเหนือจากที่กล่าวมาแล้วก็ได้
    ซึ่งเราสามารถสรุปความสัมพันธ์ของละครกับชีวิตมนุษย์ได้ ดังนี้
    .....2.1. ละครช่วยตอบสนองความต้องการของมนุษย์
    ศิลปะการละคร มีจุดมุ่งหมายเพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ 3 ระดับ ดังนี้
    .....1. อารมณ์ การละคร มีจุดมุ่งหมายให้ความบันเทิงแก่มนุษย์ได้ผ่อนคลายความเครียด
    หรือบางครั้งก็กระตุ้นอารมณ์ให้เกิดความรู้สึกตื่นเต้น ทำให้มนุษย์มีความสุข กระตือรือร้นในการดำเนินชีวิต
    .....2. สมอง ให้คุณค่าทางสติปัญญา โดยการดูละครแล้วกลับมาพิจารณาปัญหาต่าง ๆ
    เกี่ยวกับตนเอง เกี่ยวกับมนุษยชาติและเกี่ยวกับสังคมส่วนรวม
    .....3. จิตใจ ความสัมพันธ์ของศิลปะการละครกับจิตใจของมนุษย์มีมาแต่โบราณ จะเห็นได้ว่าการละครตะวันออกและตะวันตกล้วนถือกำเนิดจากพิธีบวงสรวงเทพเจ้า
    เพื่อขอพระ และให้เทพเจ้าบันดาลสิ่งต่าง ๆ ที่มนุษย์ปรารถนาหรือถ้าจะให้ชัดเจนยิ่งขึ้น ก็พิจารณาได้จากละครเวที ทั้งนี้เพราะสิ่งที่เกิดขึ้นในละครเวที มีลักษณะเหมือนชีวิตจริง ๆ ของมนุษย์ คือเหตุการณ์เกิดขึ้นมาแล้วก็ผ่านเลยไป ผู้ชมไม่สามารถหยุดพักเหมือนการอ่านหนังสือหรือดูโทรทัศน์ เช่น เมื่อรู้สึกเบื่อก็สามารถปิดหนังสือโทรทัศน์ได้ แต่ผู้ชมละครจะต้องนั่งอยู่ในโรงละคร เพื่อร่วมรู้เห็นการกระทำ (Action) ของตัวละครจนจบเรื่อง จะให้ละครหยุดพักการแสดงเมื่อเราไม่อยากชมและถ้าจะชมต่อ ก็จะให้เริ่มแสดงตรงช่วงนั้น ๆ ต่อเนื่องไปย่อมไม่สามารถจะกระทำได้ เพราะละครแม้จะเป็นผู้แสดงชุดเดียว บทเดียวกัน แต่ต่างช่วงเวลา การแสดงย่อมจะไม่เหมือนกันเสียทีเดียวทั้งหมด ละครเวทีจึงมีลักษณะเหมือนประสบการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตจริง ๆ

    ตอบลบ
  35. นางสาวณิชา เป็งสลี ม.5/1 เลขที่4

    ให้นรอธิบายละครประเภทโศกนาฏกรรม

    โศกนาฎกรรม(Tragedy)เรื่องราวจริงจัง ที่ลงท้ายด้วยความเศร้าหรือตัวเอกไม่สมหวัง การต่อสู้เพื่อความหมายในชีวิต ดิ้นรนเพื่อเอาชนะอุปสรรค เช่น โรมิโอ
    จูเลียต,แฮมเลต

    ให้นรอธิบายละครประเภทสุขนาฏกรรม

    สุขนาฏกรรม(comedy) ละครที่ลงท้ายด้วยความสุข
    สมหวัง ไม่จริงจังเท่าโศกนาฏกรรม บางครั้งแสดงให้
    เห็นถึงความไร้สาระของมนุษย์ ไม่ตึงเครียด ไม่สูญเสีย และตัวเอกที่เอาชนะอุปสรรคต่างๆได้ จบแบบมีความสุข

    ตอบลบ
  36. น.ส สุทธิดา สายนาคำ ชั้นม.5/1 เลขที่08
    (ชุดที่1)
    อธิบายละครประเภทโศกนาฎกรรม
    ตอบ : โศกนาฏกรรม (อังกฤษ: tragedy) คือ วรรณกรรมโดยเฉพาะประเภทละคร (drama) ที่ลงท้ายด้วยความเศร้าหรือไม่สมหวัง ตัวเอกในเรื่องจะตายในที่สุด เช่น เรื่องลิลิตพระลอ สาวเครือฟ้า โรเมโอจูเลียต คู่กรรม
    1.ละครโศกนาฏกรรมต้องแสดงให้เห็นความทุกข์ทรมานของชีวิตมนุษย์ (เช่น โลภ โกรธ หลง ฯลฯ) และจมลงด้วยหายนะของตัวละครเอก ซึ่งหายนะดังกล่าวนั้นเป็นผลที่เกิดจากสิ่งที่ตัวละครได้กระทำลงไป (ฉะนั้นการให้ตัวละครประสบอุบัติเหตุแบบไม่มีที่มาที่ไป หรือเช่นฟ้าผ่าตายก็จะไม่ใช่ลักษณะนี้)
    2. ตัวละครเอกจะมีสิ่งที่เรียกว่า Tragic Greatness (ความยิ่งใหญ่) ควบคู่ไปกับ Tragic Flaw (ความอ่อนแอ) กล่าวคือ
    Tragic Greatness เป็นความยิ่งใหญ่ของตัวละครเช่นชาติกำเหนิดหรือสถานะทางสังคม หรือมีนิสัยเกินกว่าคนธรรมดาในอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่นมีความกล้าหาญมาก มีคุณธรรมมาก ซึ่งจากลักษณะดังกล่าวทำให้ตัวละครเอกของละครโศกนาฏกรรมมักจะไม่ใช่คนธรรมดาทั่วไปเนื่องจากจะต้องเป็นตัวอย่างของวีรบรุษ (Hero)
    Tragic Flaw คือจุดอ่อนและข้อบกพร่องบางประการในนิสัยของตัวละครเอก อันนำมาซึ่งหายนะ เช่นความหยิ่ง ขี้หึง โลภ ฯลฯ
    3. ทุกฉากของละครโศกนาฏกรรมจะแสดงถึงความทุกข์ทรมานเพื่อให้ผู้ชมเกิดความรู้สึก Pity and Fear (สงสารและหวาดกลัว) ซึ่งการจะเกิดความรู้สึกดังกล่าวได้นั้น ละครจะต้องทำให้ผู้ชมมีความรู้สึกร่วมก่อน นั่นคือ Imvolvement เพื่อนำไปสู่ Identification
    กระบวนการดังกล่าวพอจะสรุปเป็นขั้นๆ ได้คือ
    ผู้ชมดูละครแล้วเกิดความรู้สึกร่วมImvolvement
    - เมื่อการแสดงดี ผนวกกับบทละครที่ยอดเยี่ยมและองค์ประกอบร่วมอื่นๆ คนดูจะแยกตัวเองออกจากตัวละครไม่ได้เลยจนรู้สึกว่าตัวเองเป็นตัวละครไป (หรืออีกนัยหนึ่งคือการ “ลืมตัวตน”)Identification
    - เมื่อคนดูรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งกับตัวละคร ก็จะเกิดความรู้สึก Pity and Fear จากชะตากรรมที่ตัวละครกำลังประสบ
    - จากหายนะที่ตัวละครประสบ คนดูซึ่งรู้สาเหตุของสิ่งต่างๆ รู้ที่มาของหายนะ ก็จะเข้าใจ “สาเหตุแห่งทุกข์” – enlightment
    4. ละครโศกนาฏกรรมจะนำผู้ชมไปสู่ Cathasis ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญที่สุดของละครโศกนาฏกรรม กล่าวคือหากดูละครจนจบแล้วไม่เกิด Cathasis นั้นจะถือเป็นการสูญเปล่า โดย Cathasis นั้นคือการยกระดับจิตใจ ชำระจิตใจของผู้ชมให้บริสุทธ์ (เช่นรู้ตัวว่าไม่ควรหูเบาแบบ Othello ไม่ทะเยอะทะยานแบบ Macbeth) ขณะเดียวกันก็เป็นการให้ผู้ชมได้ระบายอารมณ์ที่คั่งค้างไว้ในใจหรือที่อยู่ในระดับจิตไร้สำนึกออกมา ซึ่งจะระบายไปกับความรู้สึกร่วมกับตัวละคร (Imvolvement)
    ส่วนหนึ่งที่ความคิดเรื่อง Cathasis สำคัญมากกับละครโศกนาฏกรรมซึ่งกำเหนิดจากชาวกรีก ก็เพราะชาวกรีกนั้นเชื่อในเรื่องของชะตากรรม (Fate) ว่ามักดลบันดาลให้มนุษย์เจอกับความทุกข์ทรมาน ซึ่งมนุษย์ต้องยอมรับและปลงตกดั่งที่เห็นได้จากการชมละครว่าแม้ตัวละครจะมีความเก่งกาจยิ่งใหญ่ขนาดไหน ก็ยังพบกับหายนะได้ ผู้ชมที่เป็นคนธรรมดาเองก็หนีกฏธรรมชาตินี้ไม่ได้ เมื่อตระหนักได้เช่นนี้แล้ว ผู้ชมก็จะชำระจิตวิญญาณให้บริสุทธ์ ไม่เกิดกิเลสให้ไขว่ขว้าหรือหาสิ่งที่นำมาซึ่งความทุกข์
    นอกจากนี้แล้ว ผู้ชมที่ได้ดูละครโศกนาฏรรมนั้นจะรู้สึกได้ว่าการเป็นมนุษย์นั้นถือเป็นสิ่งที่ดีเนื่องจากรู้ว่ามนุษย์มีความยิ่งใหญ่ในด้านต่างๆ (เช่นการไม่ยอมแพ้ต่อชะตากรรมของตัวละครแม้จะต้องเจอหายนะเพียงใด) และก็จะเกิดความรู้สึกสูงส่งทางจิตใจ อยากพัฒนาตัวเองให้เป็นดั่งตัวละครในด้านของ Tragic Greatness
    5. ละครโศกนาฏกรรมถือว่ามีคุณค่าสูงสุด กล่าวคือมีคุณค่าทางวรรณศิลป์อย่างสูงสุด
    -อธิบายละครประเภทสุขนาฎกรรม
    ตอบ : 2.ละครสุขนาฏกรรม (Comedy)จะแสดงความบกพร่องของมนุษย์ ที่ไม่ใช่ความพิการ แต่จะเป็นความผิดพลาดที่เป็นอุปสรรคที่ทำให้ชีวิตยุ่งยากมากขึ้น แต่จะนำเสนอแบบไม่จริงจัง เหมือน Tragedy แสดงให้เห็นถึงความไร้สาระของมนุษย์ และมักสะท้อนให้ผู้ชมเห็นชีวิตตัวเองอย่างขบขัน และต่างจาก Tragedy ตรงที่ตัวเอกจะได้สิ่งที่สูญเสียคืนมา หรือได้ในสิ่งที่ตามหา ชนะอุปสรรคทุกอย่าง ทำให้สังคมและโลกเจริญขึ้น จบแบบ happy ending

    ตอบลบ
  37. น.ส.ภรภัทร มัณฑาลัย ม.5/1 เลขที่ 5
    1.ละครแบบเหมือนจริง (Representational Drama) คือ ละครที่ให้ภาพชีวิตความเป็นจริงสะท้อนชีวิตในสังคมและความเป็นอยู่ของชุมชนออกมาเป็นเรื่องราว ดังคำกล่าวที่ว่า "ละครคือชีวิต"
    2. ละครแบบไม่เหมือนจริง (Presentational Drama) คือ ละครที่ให้ภาพของการแสดงหลุดออกไปจากชีวิตประจำวัน โดยยึดคนดูเป็นเป้าหมายสำคัญ เพื่อให้คนดูเกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ตื่นเต้น และผู้ดูจะเกิดความรู้สึกว่าสิ่งที่ปรากฏไม่ใช่ชีวิตจริง เช่น การแสดงโขน ละครรำ ซึ่งฉากและเครื่องแต่งกายจะหรูหราเกินจริงแต่ก็สวยงาม ประณีตวิจิตรบรรจง มีเสน่ห์ประทับใจคนดู

    ตอบลบ
  38. นาย ณัฐวุฒิ แสนเหลี่ยว เลขที่ 6 ม.5/1
    ละครแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้
    1. ละครแนวเหมือนจริง (Representational Drama) คือ ละครที่ให้ภาพชีวิตความเป็นจริงสะท้อนชีวิตในสังคมและความเป็นอยู่ของชุมชนออกมาเป็นเรื่องราว ดังคำกล่าวที่ว่า "ละครคือชีวิต"
    2. ละครแนวไม่เหมือนจริง (Presentational Drama) คือ ละครที่ให้ภาพของการแสดงหลุดออกไปจากชีวิตประจำวัน โดยยึดคนดูเป็นเป้าหมายสำคัญ เพื่อให้คนดูเกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ตื่นเต้น และผู้ดูจะเกิดความรู้สึกว่าสิ่งที่ปรากฏไม่ใช่ชีวิตจริง เช่น การแสดงโขน ละครรำ ซึ่งฉากและเครื่องแต่งกายจะหรูหราเกินจริงแต่ก็สวยงาม ประณีตวิจิตรบรรจง มีเสน่ห์ประทับใจคนดู

    ตอบลบ
  39. น.ส ชนมน อุ่นเรือน ม.5/1 เลขที่19
    ตอบคำถามชุดที่2

    1. ละครแนวเหมือนจริง (Representational Drama) คือ ละครที่ให้ภาพชีวิตความเป็นจริงสะท้อนชีวิตในสังคมและความเป็นอยู่ของชุมชนออกมาเป็นเรื่องราว ดังคำกล่าวที่ว่า "ละครคือชีวิต"
    2. ละครแนวไม่เหมือนจริง (Presentational Drama) คือ ละครที่ให้ภาพของการแสดงหลุดออกไปจากชีวิตประจำวัน โดยยึดคนดูเป็นเป้าหมายสำคัญ เพื่อให้คนดูเกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ตื่นเต้น และผู้ดูจะเกิดความรู้สึกว่าสิ่งที่ปรากฏไม่ใช่ชีวิตจริง เช่น การแสดงโขน ละครรำ ซึ่งฉากและเครื่องแต่งกายจะหรูหราเกินจริงแต่ก็สวยงาม ประณีตวิจิตรบรรจง มีเสน่ห์ประทับใจคนดู

    ตอบลบ
  40. ไม่ระบุชื่อ4 กันยายน 2557 เวลา 18:45

    นางสาว ณัฐชมณฑ์ โกมลารชุน ม.5/1 เลขที่ 21
    ตอบคำถามชุดที่ 2
    ให้นักเรียนเขียนอธิบายลักษณะการนำเสนอละครตะวันตกแบบเหมือนจริงและแบบไม่เหมือนจริง พร้อมยกตัวอย่างประกอบ


    1.การนำเสนอละครแบบเหมือนจริง
    ตอบ ละครแนวเหมือนจริง (Representational Drama) คือ ละครที่ให้ภาพชีวิตความเป็นจริงสะท้อนชีวิตในสังคมและความเป็นอยู่ของชุมชนเป็นเรื่องราว ส่วนมากมักจะเป็นเรื่องที่แต่งขึ้นจากชีวิตจริง เหตุการณ์ที่เคยเกิดขึ้น หรืออ้างอิงมาจากประวัติศาสตร์ ซึ่งมีหลักฐานที่ชัดเจนว่าเป็นเรื่องที่มีความถูกต้อง แต่อาจมีการปรับเปลี่ยนรายละเอียดของเรื่องราวเพื่อความสนุกและเพื่อดึงอารมณ์ร่วมของผู้ชม ยกตัวอย่างเช่น ภาพยนต์แนวดราม่า หรือสารคดีต่างๆ ที่บางเรื่องก็ไม่ได้รับความสนใจมากนักเพราะผู้ชมบางส่วนคิดว่าน่าเบื่อ เป็นต้น


    2.การนำเสนอละครแบบไม่เหมือนจริง
    ตอบ ละครแนวไม่เหมือนจริง Presentational Drama) คือ ละครที่ไม่ได้อ้างอิง เกี่ยวกับสภาพสังคม ความเป็นอยู่ หรือวิถีชีวิตของผู้คนในปัจจุบัน ส่วนมากมักจะเป็นเรื่องที่แต่งขึ้นจากนวนิยาย เรื่องแต่ง หรืออ้างอิงมาจากประวัติศาสตร์ ซึ่งไม่มีหลักฐานที่ชัดเจนว่าเป็นเรื่องที่มีความถูกต้องมากน้อยแค่ไหน
    หลายๆครั้งจะทำบทละครเพื่อตอบสนองคนดู หรือกระแสนิยมในช่วงนั้นๆ และแน่นอนว่าไม่มีทางที่จะเกิดขึ้นจริงได้แน่นอน หรือมีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก ถ้ายกตัวอย่างในปัจจุบันก็จะเห็นอย่างเช่น ภาพยนต์หรือซีรี่ย์แนวไซไฟ แนวแฟนตาซี แนวประวัติศาสตร์ แนวสยองขวัญ แนวสืบสวน และอื่นๆ ซึ่งมักจะได้รับการตอบรับที่ดีมากในกระแสสังคมปัจจุบัน

    ตอบลบ
  41. น.ส.ปัทมาภรณ์ ขลุ่ยทอง ม.5/3 เลขที่ 7
    ตอบคำถามหัวข้อที่2
    ประเภทของละคร ละครแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้.....
    1. ละครแนวเหมือนจริง (Representational Drama) คือ ละครที่ให้ภาพชีวิตความเป็นจริงสะท้อนชีวิตในสังคม และความเป็นอยู่ของชุมชนออกมาเป็นเรื่องราว ดังคำกล่าวที่ว่า "ละครคือชีวิต".....
    2. ละครแนวไม่เหมือนจริง (Presentational Drama) คือ ละครที่ให้ภาพของการแสดงหลุดออกไป จากชีวิตประจำวันโดยยึดคนดูเป็นเป้าหมายสำคัญ เพื่อให้คนดูเกิดคว
    ามสนุกสนานเพลิดเพลิน ตื่นเต้น และผู้ดูจะเกิด
    ความรู้สึกว่าสิ่งที่ปรากฏไม่ใช่ชีวิตจริง เช่น การแสดงโขน ละครรำ ซึ่งฉากและเครื่องแต่งกายจะหรูหราเกินจริง แต่ก็สวยงาม ประณีตวิจิตรบรรจง มีเสน่ห์ประทับใจคนดู.....1.2. องค์ประกอบของละครการแสดงที่เป็นละครจะต้องมีองค์ประกอบ 4 ประการ ดังนี้.....1. ต้องมีเรื่อง (Story) ตัวละครเจรจาไปตามเนื้อเรื่องของบทละครผู้ประพันธ์บทจะต้องมีความสามารถในการบรรยายบุคลิกลักษณะและนิสัยของตัวละครได้ชัดเจน.....2. ต้องมีเนื้อหาสรุป (Subject) หรือแนวคิด (Theme) เช่น ต้องการให้เกิดความรักชาติ ความกตัญญูกตเวที หรือมุ่งสอนจริยธรรม.....3. นิสัยตัวละคร (Characterization) บุคลิกลักษณะ นิสัยของตัวละครต้องตรงกับเนื้อหาสรุป.....4. บรรยากาศ (Atmosphere) หมายถึง การสร้างบรรยากาศรอบ ๆที่เกี่ยวกับตัวละคร เพื่อช่วยให้ผู้ชมละครมีความรู้สึกคล้อยตามไปกับละคร

    ตอบลบ
  42. นางสาว ศิวพร พิบูลกุลสัมฤทธิ์ เลขที่9 ชั้น ม.5/3
    คำถามชุดที่ 1
    1. ให้นักเรียนอธิบายละครประเภทโศกนาฏกรรม
    ตอบ ละครโศกนาฏกรรมต้องแสดงให้เห็นความทุกข์ทรมานของชีวิตมนุษย์ (เช่น โลภ โกรธ หลง ฯลฯ) และจมลงด้วยหายนะของตัวละครเอก ซึ่งหายนะดังกล่าวนั้นเป็นผลที่เกิดจากสิ่งที่ตัวละครได้กระทำลงไป ทุกฉากของละครโศกนาฏกรรมจะแสดงถึงความทุกข์ทรมานเพื่อให้ผู้ชมเกิดความรู้สึก Pity and Fear (สงสารและหวาดกลัว) ซึ่งการจะเกิดความรู้สึกดังกล่าวได้นั้น ละครจะต้องทำให้ผู้ชมมีความรู้สึกร่วมก่อน นั่นคือ Imvolvement เพื่อนำไปสู่ Identification

    2. ให้นักเรียนอธิบายละครประเภทสุขนาฏกรรม
    ตอบ แสดงความบกพร่องของมนุษย์ ที่ไม่ใช่ความพิการ แต่จะเป็นความผิดพลาดที่เป็นอุปสรรคที่ทำให้ชีวิตยุ่งยากมากขึ้น แต่จะนำเสนอแบบไม่จริงจัง เหมือน Tragedy แสดงให้เห็นถึงความไร้สาระของมนุษย์ และมักสะท้อนให้ผู้ชมเห็นชีวิตตัวเองอย่างขบขัน และต่างจาก Tragedy ตรงที่ตัวเอกจะได้สิ่งที่สูญเสียคืนมา หรือได้ในสิ่งที่ตามหา ชนะอุปสรรคทุกอย่าง ทำให้สังคมและโลกเจริญขึ้น จบแบบ happy ending ละครสุขนาฏกรรมมีหลายชนิด

    คำถามชุดที่ 2
    ให้นักเรียนเขียนอธิบายลักษณะการนำเสนอละครตะวันตกแบบเหมือนจริงและแบบไม่เหมือนจริง พร้อมยกตัวอย่างประกอบ

    1. การนำเสนอละครแบบเหมือนจริง
    ตอบ คือ ละครที่ให้ภาพชีวิตความเป็นจริงสะท้อนชีวิตในสังคมและความเป็นอยู่ของชุมชน ออกมาเป็นเรื่องราว ดังคำกล่าวที่ว่า "ละครคือชีวิต"

    2. การนำเสนอละครแบบไม่เหมือนจริง
    ตอบ คือ ละครที่ให้ภาพของการแสดงหลุดออกไปจากชีวิตประจำวัน โดยยึดคนดูเป็นเป้าหมายสำคัญ เพื่อให้คนดูเกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ตื่นเต้น และผู้ดูจะเกิดความรู้สึกว่าสิ่งที่ปรากฏไม่ใช่ชีวิตจริง แต่ก็สวยงาม ประณีตวิจิตรบรรจง มีเสน่ห์ประทับใจคนดู

    ตอบลบ
  43. น.ส.ปภาพรรณ ธรรมเอกสกุล ม. 5/3 เลขที่ 1
    .....1. ละครแนวเหมือนจริง (Representational Drama) คือ ละครที่ให้ภาพชีวิตความเป็นจริงสะท้อนชีวิตในสังคม และความเป็นอยู่ของชุมชนออกมาเป็นเรื่องราว ดังคำกล่าวที่ว่า "ละครคือชีวิต".....2. ละครแนวไม่เหมือนจริง (Presentational Drama) คือ ละครที่ให้ภาพของการแสดงหลุดออกไป จากชีวิตประจำวันโดยยึดคนดูเป็นเป้าหมายสำคัญ เพื่อให้คนดูเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน ตื่นเต้น และผู้ดูจะเกิดความรู้สึกว่าสิ่งที่ปรากฏไม่ใช่ชีวิตจริง เช่น การแสดงโขน ละครรำ ซึ่งฉากและเครื่องแต่งกายจะหรูหราเกินจริง แต่ก็สวยงาม ประณีตวิจิตรบรรจง มีเสน่ห์ประทับใจคนดู.....1.2. องค์ประกอบของละครการแสดงที่เป็นละครจะต้องมีองค์ประกอบ 4 ประการ ดังนี้.....1. ต้องมีเรื่อง (Story) ตัวละครเจรจาไปตามเนื้อเรื่องของบทละครผู้ประพันธ์บทจะต้องมีความสามารถในการบรรยายบุคลิกลักษณะและนิสัยของตัวละครได้ชัดเจน.....2. ต้องมีเนื้อหาสรุป (Subject) หรือแนวคิด (Theme) เช่น ต้องการให้เกิดความรักชาติ ความกตัญญูกตเวที หรือมุ่งสอนจริยธรรม.....3. นิสัยตัวละคร (Characterization) บุคลิกลักษณะ นิสัยของตัวละครต้องตรงกับเนื้อหาสรุป.....4. บรรยากาศ (Atmosphere) หมายถึง การสร้างบรรยากาศรอบ ๆที่เกี่ยวกับตัวละคร เพื่อช่วยให้ผู้ชมละครมีความรู้สึกคล้อยตามไปกับละคร

    ตอบลบ
  44. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  45. นายปฐมพร. บุญฤทธิ์. เลขที่ 4 ม.5/3
    วิชาดนตรี หน่วยการเรียนรู้ที่3 ละครตะวันตก
    ตอบคำถามชุดที่ 1
    1. ให้ นร.อธิบายละครประเภทโศกนาฏกรรม ??
    ตอบ ละครโศกนาฏกรรม เป็นละครที่แสดงถึงเรื่องราวที่จริงจัง สะท้อนถึงการกระทำของมนุษย์ ความทุกข์ต่างๆ ละครเอกของละครโศกนาฏกรรมมักจะไม่ใช่คนธรรมดาทั่วไปและมักจะจบด้วยความโศกเศร้า นำมาซึ้งความสุข

    2.ให้นร.อธิบายละครสุขนาฏกรรม (Comedy)???
    ตอบ แสดงความบกพร่องของมนุษย์ ที่เป็นความผิดพลาดที่เป็นอุปสรรคที่ทำให้ชีวิตยุ่งยากมากขึ้น แสดงให้เห็นถึงความไร้สาระของมนุษย์ และมักสะท้อนให้ผู้ชมเห็นชีวิตตัวเองอย่างขบขัน ตัวเอกมักจะชนะอุปสรรคทุกอย่างจบแบบ happy ending ละครสุขนาฏกรรมมีหลายชนิดเช่น Romantic comedy,Sit-com,Slapstick comedy,Black comedy,High comedy,Comedy of ideas,Satiric comedy,Sentimental comedy.

    ตอบคำถามชุดที่2
    1. การนำเสนอละครแบบเหมือนจริง ???
    ตอบ คือละครที่ให้ภาพชีวิตความเป็นจริง สะท้อนชีวิตในสังคมและความเป็นอยู่ของชุมชนออกมาเป็นเรื่องราว ดังคำกล่าวที่ว่า “ ละครคือชีวิต ” หรือเรื่องราวที่แต่งขึ้นให้เหมือนจริง เช่นละครโทรทัศน์

    2. การนำเสนอละครแบบไม่เหมือนจริง???
    ตอบ คือละครที่ให้ภาพของการแสดงหลุดออกไปจากชีวิตประจำวัน โดยยึดคนดูเป็นเป้าหมายสำคัญ เพื่อให้คนดูเกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ตื่นเต้น และผู้ดูจะเกิดความรู้สึกว่าสิ่งที่ปรากฏไม่ใช่ชีวิตจริง เช่น ระครแนวแฟนตาซี เพื่อคามสนุกสนาน การแสดงโขน ละครรำ ซึ่งฉากและเครื่องแต่งกายจะหรูหราเกินจริง แต่ก็สวยงามประณีตวิจิตรบรรจง มีเสน่ห์ประทับใจคนดู

    ตอบลบ
  46. นายปฐมพร. บุญฤทธิ์. เลขที่ 4 ม.5/3
    วิชาดนตรี หน่วยการเรียนรู้ที่3 ละครตะวันตก
    <>
    1. ให้ นร.อธิบายละครประเภทโศกนาฏกรรม ??
    ตอบ ละครโศกนาฏกรรม เป็นละครที่แสดงถึงเรื่องราวที่จริงจัง สะท้อนถึงการกระทำของมนุษย์ ความทุกข์ต่างๆ ละครเอกของละครโศกนาฏกรรมมักจะไม่ใช่คนธรรมดาทั่วไปและมักจะจบด้วยความโศกเศร้า นำมาซึ้งความสุข

    2.ให้ นร. อธิบายละครสุขนาฏกรรม (Comedy)???
    ตอบ แสดงความบกพร่องของมนุษย์ ที่เป็นความผิดพลาดที่เป็นอุปสรรคที่ทำให้ชีวิตยุ่งยากมากขึ้น แสดงให้เห็นถึงความไร้สาระของมนุษย์ และมักสะท้อนให้ผู้ชมเห็นชีวิตตัวเองอย่างขบขัน ตัวเอกมักจะชนะอุปสรรคทุกอย่างจบแบบ happy ending ละครสุขนาฏกรรมมีหลายชนิดเช่น Romantic comedy,Sit-com,Slapstick comedy,Black comedy,High comedy,Comedy of ideas,Satiric comedy,Sentimental comedy.

    <>
    1. การนำเสนอละครแบบเหมือนจริง ???
    ตอบ คือละครที่ให้ภาพชีวิตความเป็นจริง สะท้อนชีวิตในสังคมและความเป็นอยู่ของชุมชนออกมาเป็นเรื่องราว ดังคำกล่าวที่ว่า “ ละครคือชีวิต ” หรือเรื่องราวที่แต่งขึ้นให้เหมือนจริง เช่นละครโทรทัศน์

    2. การนำเสนอละครแบบไม่เหมือนจริง???
    ตอบ คือละครที่ให้ภาพของการแสดงหลุดออกไปจากชีวิตประจำวัน โดยยึดคนดูเป็นเป้าหมายสำคัญ เพื่อให้คนดูเกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ตื่นเต้น และผู้ดูจะเกิดความรู้สึกว่าสิ่งที่ปรากฏไม่ใช่ชีวิตจริง เช่น ระครแนวแฟนตาซี เพื่อคามสนุกสนาน การแสดงโขน ละครรำ ซึ่งฉากและเครื่องแต่งกายจะหรูหราเกินจริง แต่ก็สวยงามประณีตวิจิตรบรรจง มีเสน่ห์ประทับใจคนดู

    ตอบลบ
  47. นางสาวชนิศา ช่วงกรุด ม.5/3 เลขที่ 13

    ตอบคำถามชุดที่ 1

    1. ให้นักเรียนอธิบายละครประเภทโศกนาฏกรรม
    โศกนาฏกรรม (tragedy) คือ วรรณกรรมโดยเฉพาะประเภทละคร (drama) ที่ลงท้ายด้วยความเศร้าหรือไม่สมหวัง ตัวเอกในเรื่องจะตายในที่สุด เช่น เรื่องลิลิตพระลอ สาวเครือฟ้า โรเมโอจูเลียต คู่กรรม

    2. ให้นักเรียนอธิบายละครประเภทสุขนาฏกรรม
    สุขนาฏกรรม(Comedy)วรรณกรรมโดยเฉพาะประเภทละครที่ลงท้ายด้วยความสุขหรือสมหวัง เช่นเรื่องอิเหนา ศกุนตลา ชิงนาง ปริศนา, โดยปริยายหมายถึงเรื่องราวหรือเหตุการณ์ทั่วๆ ไปที่ลงท้ายด้วยความสุขหรือสมหวัง เช่น ชีวิตเธอเป็นเหมือนนวนิยายสุขนาฏกรรม แม้จะตกระกำลำบากในวัยเด็ก แต่แล้วก็ได้พบกับความสุขสมหวังในบั้นปลายชีวิต จะแสดงความบกพร่องของมนุษย์ ที่ไม่ใช่ความพิการ แต่จะเป็นความผิดพลาดที่เป็นอุปสรรคที่ทำให้ชีวิตยุ่งยากมากขึ้น แต่จะนำเสนอแบบไม่จริงจัง เหมือน Tragedy แสดงให้เห็นถึงความไร้สาระของมนุษย์ และมักสะท้อนให้ผู้ชมเห็นชีวิตตัวเองอย่างขบขัน


    ตอบคำถามชุดที่ 2

    ให้นักเรียนเขียนอธิบายลักษณะการนำเสนอละครตะวันตกแบบเหมือนจริงและแบบไม่เหมือนจริง พร้อมยกตัวอย่างประกอบ
    1. การนำเสนอละครแบบเหมือนจริง
    2. การนำเสนอละครแบบไม่เหมือนจริง
    1. ละครแนวเหมือนจริง (Representational Drama) คือ ละครที่ให้ภาพชีวิตความเป็นจริงสะท้อนชีวิตในสังคมและความเป็นอยู่ของชุมชนออกมาเป็นเรื่องราว ดังคำกล่าวที่ว่า "ละครคือชีวิต"
    2. ละครแนวไม่เหมือนจริง (Presentational Drama) คือ ละครที่ให้ภาพของการแสดงหลุดออกไปจากชีวิตประจำวัน โดยยึดคนดูเป็นเป้าหมายสำคัญ เพื่อให้คนดูเกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ตื่นเต้น และผู้ดูจะเกิดความรู้สึกว่าสิ่งที่ปรากฏไม่ใช่ชีวิตจริง เช่น การแสดงโขน ละครรำ ซึ่งฉากและเครื่องแต่งกายจะหรูหราเกินจริงแต่ก็สวยงาม ประณีตวิจิตรบรรจง มีเสน่ห์ประทับใจคนดู

    ตอบลบ